The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือจำแนกพรรณไม้ปรับปรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือจำแนกพรรณไม้ปรับปรุง

คู่มือจำแนกพรรณไม้ปรับปรุง

คู่มือ
จ�ำแนกพรรณไม้
สำ� นกั วจิ ัยการอนุรักษ์ปา่ ไม้และพันธพุ์ ืช
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธพุ์ ืช

ค่มู ือจำ� แนกพรรณไม้
ฉบับปรบั ปรุง
ดร. กอ่ งกานดา ชยามฤต
ดร. วรดลต์ แจ่มจ�ำรญู
สำ�นักงานหอพรรณไม้ ส�ำ นกั วิจัยการอนุรกั ษ์ป่าไม้และพนั ธุ์พืช
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

รายละเอยี ดหนงั สือ

ส�ำนักงานหอพรรณไม้ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวจิ ยั การอนุรักษ์ป่าไม้และพนั ธ์ุพชื
ทป่ี รกึ ษา : ณรงค์ มหรรณพ หัวหน้าส�ำนักงานหอพรรณไม้
วชิ ยั อ่อนน้อม หวั หน้าฝ่ายอนุกรมวธิ านพชื ส�ำนักงานหอพรรณไม้
ดร. สมราน สุดดี

ผู้เรียบเรียง : ดร.ก่องกานดา ชยามฤต ส�ำนักงานหอพรรณไม้
ดร. วรดลต์ แจ่มจ�ำรญู ส�ำนกั งานหอพรรณไม้

ออกแบบ/ประสานงาน : เอกนกิ ปานสงั ข์
จ�ำนวนพิมพ์ : 2,000 เล่ม ส�ำหรบั เผยแพร่ ห้ามจ�ำหน่าย

ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
ส�ำนกั งานหอพรรณไม้
คู่มอื จ�ำแนกพรรณไม้.-กรุงเทพฯ: ส�ำนกั งานหอพรรณไม้ ส�ำนักวจิ ัยการอนุรกั ษ์ป่าไม้และพนั ธุ์พชื .
กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์ุพชื , 2559.
240 หน้า.
1. การจ�ำแนก 2. พรรณไม้ 3. อนุกรมวธิ าน. I. ก่องกานดา ชยามฤต II. วรดลต์ แจ่มจ�ำรญู III. ชื่อเร่อื ง
จัดท�ำโดย ส�ำนกั งานหอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธุ์พชื 61 พหลโยธนิ แขลงลาดยาว
เขตจตจุ ักร กรุงเทพ
ISBN 978-616-316-304-2
พมิ พ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สทิ ธิโชค พรน้ิ ตงิ้
12 ซ.เพชรเกษม 77 แยก 1 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ 10160
โทรศพั ท์ : 0 2809 9318, 0 8421 4447 โทรสาร : 0 2421 4447 มอื ถือ : 089 782 4399, 083 075 1378
E-mail : [email protected]

ค�ำนำ�

การจดั ท�ำหนงั สือคู่มอื จ�ำแนกพรรณไม้(ฉบับปรับปรงุ ) ขึ้นมานเ้ี ป็นการน�ำหนงั สอื คู่มอื จ�ำแนกพรรณไม้ท่ีเคยตี
พมิ พ์จ�ำหน่ายมาปรับปรงุ ให้ทันสมยั เพอ่ื ให้เปน็ เอกสารท่ชี าวป่าไม้จะมไี ว้เปน็ คู่มอื ในการตรวจหาช่อื พรรณไม้ ได้พยายาม
ใช้ภาษาท่ีอ่านง่าย มไิ ด้เป็นฉบับพิสดารแต่อย่างใด หนงั สือเล่มนจี้ ะเปน็ คู่มอื ให้เจ้าหน้าทป่ี ่าไม้ท่ีสนใจเข้าอบรมหลกั สตู ร
ต่าง ๆ ทีม่ วี ชิ าพฤกษศาสตร์เข้าไปเก่ยี วข้อง ตลอดจนผู้สนใจในการจ�ำแนกพรรณไม้ ได้ท�ำความรู้จักกบั วชิ าพฤกษศาสตร์
ได้อย่างง่ายดาย วชิ าพฤกษศาสตร์ท่ีกล่าวถึงน้ีเปน็ วิชาพฤกษศาสตร์ด้านการจ�ำแนก หรอื อนกุ รมวธิ านพืช ซึง่ วชิ า
พฤกษศาสตร์ด้านนีม้ ิใช่มีรายละเอยี ดเพยี งแต่ปรากฏอยู่ในหนงั สอื เล่มน้เี ท่าน้นั เพราะผู้เขียนพยายามอย่างเตม็ ทที่ ่จี ะ
ถ่ายทอดวิชาพฤกษศาสตร์ด้านการจ�ำแนกนีใ้ ห้แก่ผู้ทีม่ ีความสนใจเพยี งเลก็ น้อยก็สามารถเข้าใจได้ ถ้าท่านใดต้องการ
ศึกษาให้ลึกซงึ้ อย่างพิสดาร จ�ำเปน็ ต้องเปิดต�ำราเล่มอืน่ ประกอบซง่ึ มอี กี เป็นจ�ำนวนมาก
หนังสือเล่มน้มี ุ่งช้ีแนะในการจ�ำแนกพรรณไม้ในป่าให้ได้แม่นย�ำขนึ้ เพราะผู้เขยี นมักได้ยินเจ้าหน้าท่ปี ่าไม้ปรารถให้
ฟังอยู่เสมอว่า ท�ำอย่างไรจึงจะรู้จักพรรณไม้ในป่าได้ทุกชนดิ ซ่ึงเป็นการยากมากส�ำหรบั ผู้ท่ไี ม่คุ้นเคยกับวชิ าพฤกษศาสตร์
ด้านการจ�ำแนกนี้ นอกจากจะอาศัยความจ�ำเปน็ เลศิ เท่านนั้ ท่านเหล่านีย้ ังบ่นเสมอว่าพฤกษศาสตร์ด้านการจ�ำแนกนย้ี าก
ศพั ท์มากมาย ท�ำยังไงกไ็ ม่เข้าใจ จงึ เป็นแรงบนั ดาลใจให้คดิ หาวถิ ที างมุ่งท�ำหนงั สือเล่มน้ขี ึ้นเพ่อื สนองความต้องการของ
ชาวป่าไม้ทกุ ท่าน และผู้ทส่ี นใจ ดงั นน้ั อาจกล่าวได้ว่า หนงั สอื เล่มนี้คงพอจะท�ำให้ท่านได้รู้จกั พรรณไม้ขน้ึ มาบ้างไม่มากกน็ ้อย
ส�ำหรับหลกั การใช้หนงั สือเล่มนก้ี ่อนอ่ืนต้องขออธบิ ายว่า ช่อื หนังสอื เล่มนอ้ี าจจะท�ำให้ท่านสนใจ หรืออย่างน้อยก็
เป็นการชกั ชวนให้ท่านเกดิ ความสนใจ แต่ขอช้แี จงว่าเม่ือท่านได้เปิดดแู ล้วท่านอาจคดิ ว่าวชิ าพฤกษศาสตร์ด้านการจ�ำแนก หรือ
อนกุ รมวธิ านพืชนั้น ไม่ใช่เรอ่ื งง่ายเลย เพราะอย่างน้อยท่านจะต้องใช้เวลาท�ำความเข้าใจกบั ลกั ษณะต่าง ๆ ของพชื ตลอดจน
ศพั ท์พฤกษศาสตร์(glossary) ต่าง ๆ เสยี ก่อน แล้วท่านจึงจะมาใช้รปู วธิ าน (key) หรืออ่านลกั ษณะประจ�ำวงศ์พืชให้เข้าใจได้ แต่
เมอื่ ท่านมีหนงั สือเล่มนที้ ่านไม่จ�ำเปน็ ต้องท่องจ�ำลกั ษณะหรือศัพท์ต่าง ๆ ท่านสามารถเปิดย้อนกลบั ไปมาได้ เมอ่ื ท่านต้องการ
ท�ำความเข้าใจกับศพั ท์พฤกษศาสตร์ใด ๆ ท่านกอ็ าจจะพลกิ มาอ่านค�ำอธิบาย หรือดูรูปตัวอย่างลกั ษณะนนั้ ๆ ขอเพยี งแต่ว่า
ให้ท่านขยันเปิดกลับไปมา อย่าตดิ ค้างค�ำศพั ท์ต่าง ๆ ท่ที ่านไม่เข้าใจไว้ จะยิ่งท�ำให้ท่านเพ่ิมความสบั สนหนกั ข้นึ ไปเร่ือย ๆ
อย่างไรก็ตามหนังสอื เล่มนี้จะท�ำให้ท่านจ�ำแนกพืชไปถึงล�ำดับวงศ์เป็นส่วนใหญ่ แต่กไ็ ด้พยายามยกพรรณไม้
วงศ์ใหญ่ ๆ ท่ีส�ำคัญ ๆ ที่มีความเกย่ี วข้องกับการป่าไม้ มาจดั จ�ำแนกให้ได้ถงึ สกุลและบางทีถึงชนิด พรรณไม้วงศ์ใดทไ่ี ด้
มีการศกึ ษาวิจยั และตีพมิ พ์ในหนงั สือ Flora of Thailand หรอื Thai Forest Bulletin (Botany) ซงึ่ เปน็ หนงั สอื ท่ีจดั ท�ำโดย
ส�ำนักงานหอพรรณไม้ ส�ำนกั วจิ ยั การอนรุ ักษ์ป่าไม้และพันธ์ุพืช กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่าและพนั ธ์ุพืชแล้ว กไ็ ด้
วงเล็บชอื่ หนงั สือบอกตอนและหน้าไว้ท่ที ้ายวงศ์นนั้ ๆ เพื่อให้ผู้ทต่ี ้องการจะจ�ำแนกพืชถงึ ชนดิ ได้ไปเปิดใช้รปู วธิ านและ
อ่านค�ำบรรยายลกั ษณะพชื ต่อได้ แต่ส�ำหรับพชื วงศ์อน่ื ๆ ทีไ่ ม่ได้กล่าวรายละเอียดไว้ ก็สามารถเปิดหาเพ่ิมเติมได้ใน
หนังสอื พรรณพฤกษชาตขิ องประเทศเพ่อื นบ้านทีไ่ ด้เขียนเปน็ เอกสารแนะน�ำไว้ ซ่งึ เอกสารเหล่าน้ีมอี ยู่ครบครนั ใน
ห้องสมดุ พฤกษศาสตร์ของหอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่าและพันธ์ุพชื
จงึ หวงั เปน็ อย่างย่งิ ว่า หนงั สอื เล่มนีจ้ ะเปน็ ที่ถูกใจชาวป่าไม้ และผู้สนใจทุก ๆ ท่าน น�ำไปเปน็ คู่มอื จ�ำแนก
พรรณไม้ในป่าได้ต่อไป ขอให้ท่านทงั้ หลายใช้ความพยายามในการใช้หนังสอื คู่มอื เล่มน้ี แล้วท่านจะพบว่าพฤกษศาสตร์
ด้านการจ�ำแนกนั้นไม่ยากเลย ขอเพียงให้ท่านมีความสนใจเท่าน้นั

ก่องกานดา ชยามฤต

วรดลต์ แจ่มจ�ำรูญ

สารบญั 1

1. อนกุ รมวธิ าน 1
1
ค�ำจ�ำกดั ความ 1
ขอบเขต 2
- การระบุพชื 4
- การบญั ญัตชิ ่ือ 4
หมวดหมู่ตามกฎเกณฑ์ทก่ี �ำหนดไว้เป็นสากล 5
อาณาจักรพชื 5
ช่ือต่าง ๆ ท่ตี ้องเกี่ยวข้องและใช้เป็นประจ�ำ 6
- วงศ์ (Family) 8
- สกลุ (Genus) และค�ำระบชุ นดิ (Specific epithet) 8
ตวั อย่างชอ่ื สกลุ (generic name) 9
- ต้งั ตามช่ือบคุ คล 9
- ต้ังตามลักษณะของพชื 10
- ต้ังตามช่อื พ้ืนเมอื ง 10
- ตง้ั ตามแหล่งทพ่ี บ 10
ตวั อย่างค�ำระบุชนดิ (specific epithet) 10
- ต้ังตามลักษณะของพชื 10
- ต้ังตามสถานท่หี รือแหล่งทพี่ บคร้งั แรก 14
- ชื่อทต่ี ั้งให้เป็นเกยี รติแห่บุคคล่ 15
การอ้างช่อื ผู้ตง้ั ชื่อพชื 17
การอ่านชื่อพฤกษศาสตร์ 21
การจ�ำแนกพชื 22
ความส�ำคญั 22
22
2. การเก็บตัวอยา่ งพรรณไม้ 24

วัตถุประสงค์
อุปกรณ์
วธิ ีเกบ็ ตัวอย่างพรรณไม้

วิธอี ดั แห้งพรรณไม้ 28
วิธอี าบน้�ำยาพรรณไม้ 28
วธิ ีเยบ็ พรรณไม้ 30
32
3. โครงสรา้ งภายนอกของพชื 32
33
ล�ำต้น 33
- ล�ำต้นบนดนิ 33
- ล�ำต้นใต้ดนิ 35
ราก 35
ตา 37
ใบ 37
- ก้านใบ 37
- หูใบ 37
- ชนดิ ของใบ 39
- เส้นใบ 41
- รูปร่างใบ 41
- ปลายใบ 41
- โคนใบ 42
- ขอบใบ 42
- เนอ้ื ใบ 42
- การเรยี งใบ 44
- สง่ิ ปกคลมุ ใบ 44
ดอก 44
- สมมาตรดอก 46
- วงกลบี เลี้ยง 49
- วงกลบี ดอก 49
- วงเกสรเพศผู้ 52
- วงเกสรเพศเมยี
- การตดิ ของไข่ภายในรังไข่

- ชนดิ ของรังไข่ 52
52
- ช่อดอก 54
54
ผล 55
55
- ผลสด 55
56
- ผลแห้ง 58
58
- ผลแห้งแก่ไม่แตก 58
60
- ผลแห้งแก่แตก 60
60
เมลด็ 61
65
4. การวเิ คราะห์ตวั อยา่ งพรรณไม้ 91
ขั้นตอนการวเิ คราะหพ์ รรณไม้ 91
100
- ระดบั วงศ์ 100
100
- ระดบั สกลุ 170
170
- ระดบั ชนดิ 173
176
- การใช้รูปวธิ าน 180
199
- เอกสารแนะน�ำ
202
5. รปู ธานแยกวงศ์พชื ทพ่ี บบอ่ ยในประเทศไทย
6. ลกั ษณะประจ�ำวงศ์พชื

พืชเมล็ดเปลอื ย (Gymnosperms)

พชื ดอก (Angiosperms)

- พชื ใบเลี้ยงคู่

- พืชใบเลี้ยงเดยี่ ว

ภาคผนวก

1. วงศ์พชื ทมี่ ลี ักษณะประจ�ำวงศ์ค่อนข้างแน่นอน

2. วงศ์พชื ทม่ี ีลักษณะเฉพาะ

3. กลุ่มวงศ์พชื ท่ีมีลกั ษณะคล้ายกนั

ค�ำแปลศัพทพ์ ฤกษศาสตร์
เอกสารอ้างองิ

ดรรชนชี อ่ื พชื





1

1
อนกุ รมวธิ านพืช (Plant taxonomy)

ค�ำจำ� กดั ความ

การจ�ำแนกพรรณไม้นน้ั ต้องอาศยั วชิ าพฤกษศาสตร์ สาขาอนกุ รมวธิ านพชื (plant taxonomy) เป็นหลัก
ใหญ่ วิชาพฤกษศาสตร์ด้านน้จี ึงเป็นความรู้พนื้ ฐานทจ่ี �ำเปน็ อย่างยิ่งทจ่ี ะน�ำไปใช้จ�ำแนกพรรณไม้ได้โดยท่วั ไป ไม่ว่า
พรรณไม้นน้ั ๆ จะเป็นพรรณไม้ในถน่ิ ใด ถงึ แม้ว่าจะไม่คนุ้ เคยกบั พรรณไมน้ น้ั ๆ มากอ่ นเลยกต็ ามถา้ น�ำเอาวชิ าการดา้ น
นเี้ ขา้ ไปชว่ ยแลว้ กจ็ ะจ�ำแนกพรรณไม้ได้อย่างแน่นอน จงึ นบั ได้ว่า อนุกรมธานพชื น้เี ป็นหัวใจในการจ�ำแนกพรรณไม้
ดงั นน้ั ผู้ท่เี กีย่ วข้องกับงานด้านน้ี จงึ จ�ำเปน็ ต้องให้ความสนใจกบั วชิ าการด้านนพ้ี อสมควร

อนกุ รมวธิ าน ตรงกับรากศพั ท์ภาษาองั กฤษว่า taxonomy หรอื systematics เป็นศาสตร์ทม่ี ขี อบเขตกว้าง
ขวางในการศกึ ษาวจิ ยั เก่ยี วกับรูปพรรณสณั ฐานของ ๆส่ิงใดสิง่ หน่งึ โดยอาศยั ข้อมูลหลาย ๆด้านของ ๆสงิ่ ใดสิง่ หนึง่
เหล่านั้น เม่ือน�ำวชิ าอนุกรมวธิ านมาใช้ในวิชาพฤกษศาสตร์ จึงหมายถึงวชิ า อนุกรมวธิ านพชื (plant taxonomy หรอื
plant systematics) ถ้าจะพดู ให้เข้าใจง่ายคอื การจ�ำแนกพรรณพชื นน่ั เอง

วชิ าอนุกรมวธิ านพืชน้ีนบั ได้ว่าเปน็ แม่บทของวชิ าพฤกษศาสตร์ เพราะก่อนท่เี ราจะเรียนรู้เร่อื งของพชื ใน
ด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านสัณฐานวิทยา (mor[hology) สรีรวิทยา (physiology) กายวภิ าควิทยา (anatomy) ฯลฯ
จ�ำเปน็ ต้องเรยี นรู้ชื่อและลกั ษณะเด่น ๆ ของพชื นัน้ ๆ เสียก่อน จึงอาจกล่าวได้ว่าผู้ท่เี ก่ียวข้องกับพรรณพชื ไม่ว่าจะ
เป็นทางด้านนวกรรม เกษตรกรรม เภสัชกรรม ตลอดจนการน�ำพชื ไปใช้ประโยชน์ในอตุ สาหกรรมด้านต่าง ๆ ต่างก็
ต้องอาศยั ผลงานของ นักอนุกรมวธิ านพืช (plant taxonomist) ด้วยกันทง้ั น้นั เพอ่ื ท่ีจะรู้จักชือ่ พรรณพชื ต่าง ๆ อย่าง
ถกู ต้องแน่นอน ผลงานวจิ ยั ใด ๆ ท่ีเกย่ี วกับพชื ถงึ แม้ว่าจะมีหลกั การและการวางแผนปฏบิ ตั กิ ารดเี พียงใดกต็ าม
ถ้าหากเรม่ิ ต้นด้วยชอ่ื ของพชื ทีผ่ ดิ พลาดหรอื ไม่ถูกต้องตรงตามชนดิ แล้ว ผลงานวจิ ยั น้นั ย่อมไร้คุณค่าโดยส้นิ เชงิ

ขอบเขต

ขอบเขตของวิชาอนกุ รมวธิ านพชื มีดังนี้

1. การระบพุ ืช (Plant Identification) พืชมีอยู่มากมายทั้งทร่ี ู้จักแล้วและไม่รู้จัก ซง่ึ ต้องมวี ธิ ีการตรวจสอบ
หาชื่อให้ได้ Plant Identification คือการตรวจพจิ ารณาว่าพชื ทีต่ ้องการตรวจสอบมลี กั ษณะคล้ายคลงึ หรอื เหมอื นกับ
พืชท่ีรู้จกั แล้วหรอื ไม่ ตรวจสอบแล้วอาจพบว่าเป็นพชื ชนดิ ใหม่ (new species) หรือถ้าพืชมีอยู่แล้วแต่ไม่เคยมี
รายงานการพบมาก่อนก็เรยี กว่าเป็น new record ซ่ึงจะต้องมกี ารเขยี นรายงานออกมา การตรวจสอบมบี ทบาท
ส�ำคัญในการทจ่ี ะน�ำเสนอข้อมลู และการสอ่ื ความหมายว่าพชื น้นั ๆ คอื อะไร มขี ้อมูลอะไรท่เี กย่ี วข้องบ้าง การทจ่ี ะ
ตรวจสอบได้ผู้ตรวจสอบจ�ำเปน็ ต้องรู้จกั ส่วนประกอบต่าง ๆ ของพชื การตรวจสอบสามารถท�ำได้หลายวธิ ี ตวั อย่าง
เช่น

-ระบพุ ชื โดยใช้รูปวธิ าน (key) ซ่ึงมลี กั ษณะเปน็ ข้อความท่บี รรยายเก่ยี วกับลักษณะของพชื ที่น�ำ
มาตรวจสอบ โดยทั่วไปจะมีลกั ษณะเปน็ dichotomous key คอื จะมีคู่ของข้อความท่แี ยกเป็นสองหัวข้อ โดยมรี าย
ละเอียดของลกั ษณะพชื ที่แตกต่างกัน เพ่ือให้ผู้ทท่ี �ำการระบเุ ลอื กว่าข้อความใดตรงกับลักษณะพชื ทน่ี �ำมาตรวจ
สอบ คู่ของข้อความทก่ี ล่าวถงึ สง่ิ เดียวกนั แต่มลี กั ษณะต่างกนั ใน key น้เี รยี กว่า couplet แต่ละข้อความเรยี ก lead

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

2 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช
รปู แบบของ dichotomous key มสี องแบบ คือ indented หรอื yoked key และ bracketed key ทั้งสองแบบมขี ้อดีและ
ข้อเสียแตกต่างกันไป แบบแรกได้รบั ความนยิ มมากกว่า
-ระบุโดยการเปรยี บเทยี บ (comparison) โดยน�ำพืชท่ยี ังไม่รู้จกั ไปเปรียบเทียบลักษณะกบั
ตวั อย่างแห้งของพชื ทม่ี ชี ่อื ทถ่ี ูกต้องก�ำกบั ในพพิ ธิ ภัณฑ์พืช หรือเปรยี บเทยี บกับภาพถ่าย ภาพวาด หรอื ค�ำบรรยาย
ของพชื ทีร่ ู้จักแล้ว ข้อนจี้ ะใช้เวลาน้อยลงถ้าได้มกี ารใช้ key ให้ได้ช่ือก่อน แล้วจงึ อ่านค�ำบรรยายและเปรยี บเทียบ
ตวั อย่างเพ่อื ความม่ันใจ
-ระบุโดยการถามผู้เชย่ี วชาญทีท่ �ำการศกึ ษาวิจัยพืชในกลุ่มท่กี �ำลงั ตรวจสอบอยู่ กรณนี ้ตี ้องรู้
ก่อนว่าพืชทจ่ี ะตรวจสอบจดั อยู่ในวงศ์ใด รายชอื่ ผู้เชีย่ วชาญหรอื ผู้ทรี่ ับผิดชอบท�ำการวจิ ยั วงศ์ต่าง ๆ ส�ำหรับ
โครงการพรรณพฤกษชาตปิ ระเทศไทย สามารถตรวจสอบได้จากโฮมเพจของหอพรรณไม้ (http://www.dnp.go.th/
botany)
2. การบญั ญตั ิชือ่ พชื (nomenclature) คอื การก�ำหนดตง้ั ช่อื พรรณพชื ภายหลังจากทไ่ี ด้ท�ำการวเิ คราะห์
พรรณไม้ชนดิ ใดชนดิ หน่งึ แล้ว กจ็ ะต้องให้ชอ่ื ท่ีถูกต้อง (correct name) แก่พรรณไม้นน้ั ๆ เปน็ หน้าท่ีของนักอนกุ รม
วิธานพชื ท่จี ะพิสูจน์ว่าช่ือใดเปน็ ทย่ี อมรบั ชื่อใดเป็นช่อื พ้อง หรือชือ่ ใดท่ใี ช้ไม่ได้
ถงึ แม้ว่าพรรณไม้แต่ละชนดิ จะมชี อื่ เรียกกนั อยู่แล้ว เช่น กหุ ลาบ จามจรุ ี นนทรี เป็นต้น แต่ชือ่ ทกี่ ล่าวมาน้ี
เปน็ ช่ือทัว่ ไป (common names) หรอื ช่ือพน้ื เมือง (vernacular หรอื local name) ซึ่งเปน็ ช่อี ทีเ่ รยี กกันเฉพาะท้องถน่ิ
หนง่ึ เท่านั้น ถ้าเราน�ำไปพดู ถึงยังท้องถน่ิ อ่ืน ๆ ก็อาจจะไม่รู้จักได้ เช่น กรุงเทพฯ เรียก สับปะรด ภาคใต้ เรียก ยานัด
หรือ กรุงเทพฯ เรียก ฝร่ัง ภาคใต้ เรยี ก ชมพู่ ซ่งึ จะมาซำ้� กบั ชมพู่ ทคี่ นกรุงเทพฯ เรยี ก หมายความถงึ ไม้อกี ชนิดหนึง่
พรรณไม้ต้นหนง่ึ เรยี กชนดิ หน่งึ ที่มคี วามส�ำคญั มากอาจมหี ลายช่อื แต่ถ้าไม่มคี วามส�ำคญั ก็มกั จะไม่มีช่ือ เช่น พวก
ไม้ล้มลกุ ทเี่ ปน็ วชั ชพชื มักจะเรยี กกันว่า ดอกหญ้าจนเคยปาก ส่วนต้นไม้บางชนดิ ก็ยงั ไม่มขี ้อยุตจิ ะเรียกอะไรกนั แน่
ดังนนั้ พรรณไม้ชนดิ เดยี วมกั จะมหี ลายช่อื เรยี กแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิน่ ส่วนใหญ่แล้วมักจะมหี ลายช่อื ทัง้
นัน้ เช่น จามจุรี ฉ�ำฉา ก้ามปู ช่ือพ้นื เมอื งบางช่อื กซ็ �้ำกัน คอื พรรณไม้ 3-2 ชนดิ มีชอ่ื เหมอื นกัน เช่น ต้นรัก มที ้ังที่
เปน็ ไม้ต้นให้ยางรกั ท�ำเคร่ืองเขิน ยางเป็นพษิ ถ้าแพ้ก็เกิดอาการคันตามผวิ หนงั รกั ท่เี ปน็ ไม้พุ่ม น�ำมาร้อยมาลัย มี
รกั อีกชนดิ หนึ่งข้นึ รมิ ทะเล อาจเรียกว่า รกั ทะเล ถ้าพูดว่าต้นรกั ก็อาจเกิดความเข้าใจผิดกนั ได้เพราะไม่รู้ว่าต้นไหน
แน่
นอกจากน้พี รรณไม้ชนิดเดยี วกัน ต่างชาตติ ่างภาษากเ็ รยี กช่อื แตกต่างกนั ออกไป เช่น น้อยหน่า ไทยเรยี ก
น้อยหน่า อนิ เดียเรียก สิตผล ญี่ปุ่นเรียก ปันเรฮชิ ิ จนี เรียก ฟานลิซี้ (พงั ไหล) เขมรเรยี ก เตรยี มโสภา ลาวเรยี ก
หมากเขียบ ญวณเรยี ก กวาหนา มลายูเรียก พอนา องั กฤษเรยี ก Castard apple, Sugar apple แม้คนไทยเราเองก็
ยังเรยี กแตกต่างกันไปตามส�ำเนยี งของแต่ละภาค และตามชนในเผ่าต่าง ๆ เช่น น้อยหน่า มะนอแน ลาหนัง มะออจ้า
แต่ถ้าเปน็ ชือ่ พฤกษศาสตร์แล้วจะมเี พยี งช่อื เดยี วเท่าน้นั คอื Annona squamosa L.
ดงั นั้นเมือ่ ชื่อ common names และ vernacular names ไม่เหมาะสมในการเรยี กชอ่ื พรรณไม้ นักพฤกษศาสตร์
จึงตกลงท่จี ะใช้ชือ่ botanical name เป็นชือ่ พรรณไม้ เปน็ ชื่อ ๆเดียวทีท่ กุ ๆ ชาติ ทกุ ๆ ภาษาใช้เรียกพรรณไม้ และเป็น
สากล (International) การบัญญัตชิ ื่อพฤกษศาสตร์น้ี ก�ำหนดให้พรรณไม้แต่ละชนดิ มชี อ่ื เป็น 2 วรรค คือ วรรคแรก
เป็นช่อื สกลุ (Generic name) ข้ึนต้นด้วยตัวอักษรใหญ่ วรรคท่สี องเป็นช่ือชนดิ (specific epithet) เขยี นด้วยตวั อกั ษร
เลก็ และตามด้วยชือ่ คนตั้ง (author) ขึน้ ต้นด้วยตัวอกั ษรใหญ่ ทัง้ หมดนี้เปน็ ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) ของ
พืช ชอ่ื พชื จะเป็นภาษาลาติน เพราะเป็นภาษาที่ตาย เรยี กการตั้งชอ่ื แบบนวี้ ่า Binomial nomenclature

3
เมอ่ื มกี ารส�ำรวจพรรณไม้มากขน้ึ และพบพรรณไม้ใหม่ ๆ เพิม่ ข้นึ กเ็ กดิ ปญั หาในการตง้ั ช่อื พรรณไม้ใหม่
เหล่านนั้ เพราะยงั ไม่มกี ฎเกณฑ์ท่ีแน่นอนของการตงั้ ช่อื ส�ำหรับชอ่ื พรรณไม้ชนดิ ใดท่ีได้ประกาศใช้เปน็ ช่อื แรกไป
แล้ว ก็เปน็ ท่ยี อมรับ และไม่ใช้ซ้�ำกนั อีก ผู้ท่ีตัง้ ช่ือพรรณไม้ใหม่ ๆกพ็ ยายามหลกี เลี่ยงไม่ใช้ชอ่ื ทซี่ ำ้� กัน ด้วยเหตุน้นี กั
พฤกษศาสตร์จงึ ได้ต้งั กฏเกณฑ์ของการตงั้ ชอ่ื ขึ้นไว้ให้เปน็ ระบบสากล เพ่อื ให้ทกุ ๆคนที่ปฏบิ ัตงิ านทางด้านอนุกรม
วธิ านพืช ได้ใช้ชอ่ื ท่ีถกู ต้องไม่ไขว้เขว
การต้ังช่ือจะต้องมตี ัวอย่างพรรณไม้ ช่ือผู้ตง้ั (author) ได้ใช้เปน็ ตวั อย่างในการวเิ คราะห์ (indentify) และ
บรรยายลักษณะ (describe) กฎเกณฑ์มีดงั น้ี คอื เมอ่ื พบพรรณไม้ชนดิ ใหม่ (new species) ท่ยี งั ไม่เคยมชี ่ือมาก่อน
เมอื่ ตัง้ ช่อื แล้ว จะต้องเขยี นบรรยายลักษณะ และตพี ิมพ์ในเอกสารพฤกษศาสตร์เผยแพร่ท่ัวโลก ในการบรรยาย
ลักษณะก็ต้องดตู ัวอย่างพรรณไม้ประกอบไปด้วย ตวั อย่างพรรณไม้ทใ่ี ช้ดูประกอบน้ี เรยี กว่าเปน็ type specimen
ในการเรยี กช่อื หมวดมู่ของพรรณไม้ใดต้องปฏบิ ัติตาม ล�ำดับก่อนหลงั ของการตีพมิ พ์ (Priority of Publication)
คือ ตีพิมพ์ก่อน และถกู ต้องตามกฏ คือ ยดึ ชื่อพรรณไม้ท่ไี ด้ตง้ั ช่ือถูกต้องตามกฏเกณฑ์ และได้ตีพมิ พ์ในเอกสาร
ก่อนเปน็ อันถูกต้อง ชอ่ื พชื และทกุ ๆหมวดหมู่ของพชื (taxonomic group) จงึ มีช่อื ทถี่ กู ต้อง (correct names) เพยี งชอื่
เดยี ว

การก�ำหนดช่อื ให้กับ taxon (พหพู จน์ taxa) ของพชื ให้ถูกต้องตามระบบที่เปน็ สากล กฏเกณฑ์ในการตงั้ ชอื่
วิทยาศาสตร์ของพชื ได้มาจากการประชมุ International Botanical Congress (IBC) ซ่ึงเป็นการประชมุ ระดบั นานาชาติ
และได้รับการตพี มิ พ์ออกมาเปน็ หนังสอื ทเ่ี รยี กว่า International Code of Nomenclature for algae, fungi, and plants
(ICN) แต่ก่อนใช้ช่อื ว่า International Code of Botanical Nomenclature (ICBN) เหตผุ ลของการเปลย่ี นชอ่ื เนอ่ื งจากว่า
ค�ำว่า “Botanical” อาจท�ำให้เกิดความสับสนกับผู้ใช้ว่ากฎเกณฑ์นใ้ี ช้เฉพาะพชื เท่าน้นั แต่ความจรงิ แล้วกฎเกณฑ์น้ี
ครอบคลมุ ไปถงึ การตง้ั ช่อื ของเห็ด รา และสาหร่ายด้วย การเปลี่ยนช่อื น้เี ปน็ ผลมาจากการประชมุ International
Botanical Congress (IBC) คร้งั ที่ 18 ท่ี กรงุ Melbourne ประเทศออสเตรเลยี เมื่อเดอื นกรกฎาคม 2011 การ
เปล่ยี นแปลงส�ำคญั อกี อย่างหนงึ่ จากจากประชุมครงั้ ที่ 18 ก็คอื ตั้งแต่ 1 มกราคม ปี 2012 เปน็ ต้นไป การตงั้ ชือ่ พืช
เห็ดรา หรอื สาหร่ายชนดิ ใหม่ การบรรยายลักษณะส�ำคัญ (Diagnosis) จะเปน็ ภาษาอังกฤษหรอื ละตนิ กไ็ ด้ ซึ่งแต่
ก่อนให้ใช้ละตนิ อย่างเดียว และในการตพี มิ พ์ครั้งแรก อาจไม่ต้องเป็นรูปแบบการพมิ พ์เหมอื นแต่ก่อน ซ่ึงจะออกมา
เปน็ เอกสารตพี มิ พ์ในรูปวารสารหรอื หนังสือเปน็ เล่ม ๆ แต่อนุญาตให้ตีพมิ พ์ในรปู online ได้ โดยมรี ะบบไฟล์เป็น
Portable Document Format (PDF) และมีหมายเลข International Standard Serial Number (ISSN) ส�ำหรับวารสาร
หรอื International Standard Book Number (ISBN) ส�ำหรับหนังสอื การประชุม IBC นจ้ี ะจดั ข้นึ ทกุ 6 ปี โดยเปลีย่ น
สถานท่ปี ระชมุ เวยี นไปตามประเทศต่าง ๆ ครงั้ ท่ี 17 จัดประชมุ ที่กรงุ Vienna ประเทศออสเตรยี เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม
2005 ครง้ั ท่ี 16 ประชมุ ท่เี มอื ง Saint Louis สหรัฐอเมรกิ า ในปี 1999 ก่อนหน้าน้ันเป็นการประชมุ ท่เี มอื ง Yogohama
ประเทศญ่ปี ุ่น ในปี 1993 การประชมุ ครงั้ ท่ี 19 จะจดั ข้นึ ท่เี มอื ง Shenzhen ประเทศจีน ระหว่างวนั ท่ี 23-29
กรกฎาคม ปี 2017
กฎนานาชาติของการก�ำหนดช่อื วิทยาศาสตร์ของพชื (ICN) ประกอบไปด้วย 3 ส่วนคอื
-หลักการ (Principles) เป็นหลักส�ำคัญท่กี �ำหนดให้เป็นพน้ื ฐานของระบบการตงั้ ช่ือพชื
-กฎ (Rules) เปน็ ข้อบงั คับ ซง่ึ แบ่งออกเป็นมาตรา (Articles) ต่าง ๆ
-ข้อแนะน�ำ (Recommendations) เปน็ ข้อแนะน�ำเพ่อื เสริมให้กฏมคี วามชดั เจนในการปฏบิ ตั มิ ากยง่ิ ขนึ้

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

4 กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธุ์พืช
ซ่งึ ICN นมี้ รี ายละเอยี ดปลีกย่อยมาก โดยเฉพาะในเรื่องของชอ่ื ตงั้ แต่ระดับวงศ์ลงไป ส่วนชอ่ื เหนอื ระดับ
วงศ์ข้ึนไปนั้นถึงแม้ว่าเราจะไม่ค่อยได้ใช้แต่ในเอกสารฉบับน้ีจะแสดงให้ทราบไว้เพ่ือให้เข้าใจถึงการให้ช่ือก�ำกับ
หมวดหมู่ต่าง ๆ ช่อื ของ taxon ในล�ำดบั ท่ตี ้องเกย่ี วข้องและใช้เปน็ ประจ�ำก็คอื ช่อื วงศ์ สกุล และชนดิ ซึ่งจ�ำเป็นจะ
ต้องเน้นเปน็ พเิ ศษเพอ่ื ให้เกิดความเข้าใจและมคี วามมน่ั ใจในการใช้

หมวดหมู่ตามกฎเกณฑ์ทก่ี �ำหนดไวเ้ ป็นสากล เป็นการจัดหมวดหมู่แล้วเรยี งเปน็ ล�ำดบั มีช่อื ก�ำกบั

หมวดหมู่ตามกฎเกณฑ์ทก่ี �ำหนดไว้เป็นสากล โดยมคี �ำลงท้ายในแต่ละล�ำดบั แตกต่างกนั ไป

อาณาจักรพชื (Kingdom Plantae)

Subkingdom เช่น Embryobionta

Division (หมวด) ลงท้ายด้วย -phyta (-mycota ส�ำหรับเห็ดรา เช่น Eumycota)

Thallophyta ใช้ในการแบ่งหมวดหมู่สมยั ก่อน หมายถงึ Algae, Fungi และ Lichens

Bryophyta ได้แก่ มอส (Mosses), ลเิ วอร์เวิร์ต (Liverworts) และ ฮอร์นเวริ ์ต (Hornworts)

Pteridophyta ได้แก่ เฟิร์นและกลุ่มใกล้เคยี งเฟิร์น (fern & fern allies) ได้แก่ หวายตะมอย

(Psilotum) หญ้าถอดปล้อง (Equisetum) สามร้อยยอด (Lycopodium) และตนี ตุ๊กแก

(Selaginella)

Spermatophyta ได้แก่พชื มีเมล็ด ประกอบไปด้วยพชื เมลด็ เปลอื ย (Gymnosperm) และพชื

ดอก (Angiosperm)

Pteridophyta กับ Spermatophyta อาจรวมเรยี กว่า Tracheophyta (พชื มที ่อล�ำเลยี ง)

Subdivision Spermatophytina (-mycotina ส�ำหรบั เห็ดรา เช่น Eumycotina)

Class (ชน้ั ) Magnoliopsida (-phyceae ส�ำหรับสาหร่าย เช่น Chlorophyceae

-mycetes ส�ำหรับเหด็ รา เช่น Basidiomycetes)

Subclass Rosidae (-phycidae ส�ำหรับสาหร่าย เช่น Cyanophysidae

-mycetidae ส�ำหรับเหด็ รา เช่น Basidiomycetidae)

Order (อันดบั ) Rosales

Suborder Rosineae

Family (วงศ์) Rosaceae

Subfamily Rosoideae

Tribe Roseae

Subtribe Rosinae 5

Genus (สกุล) -a, -is, -on, -us, -um Rosa, Castanopsis, Rhododendron, Lithocarpus,
Pterospermum

Subgenus Rosa subgenus Eurosa

Section Rosa section Gallicanae

Subsection Rosa subsection Pimpinellifoliae

Series Rosa series Stylosae

Species (ชนดิ ) Rosa gallica

Subspecies Syzygium cacuminis ssp. inthanonense

Variety Markhamia stipulata var. kerrii

Subvariety Saxifraga aizoon var. aizoon subvar. brevifolia

Forma Tectona grandis f. punctata

หมายเหตุ ตวั เข้ม ต้องการเน้นเพ่อื ให้ทราบว่าเปน็ ค�ำลงท้ายทบ่ี งั คับ ตวั ขดี เส้นใต้เป็นล�ำดับท่มี ีความส�ำคญั ซ่งึ มี
การใช้อยู่เป็นประจ�ำ

ส�ำหรับค�ำว่า Division กบั Phylum แต่ก่อนใช้แทนกันได้ คอื อาจจะเหน็ การใช้ค�ำว่า Phylum กับ
พืช แต่ปัจจบุ ันนยิ มใช้ค�ำว่า Division ส�ำหรับพชื และใช้ค�ำว่า Phylum ส�ำหรับสัตว์

ศัพท์ท่มี กั พบบ่อยได้แก่ พืชดอก (Angiosperm) พชื เมลด็ เปลอื ย (Gymnosperm) ซ่ึงทง้ั พชื ดอก
และพืชเมล็ดเปลือยมกั รวมเรยี กว่า พืชมเี มล็ด (Spermatophyte หรือ Phanerogams) ส่วนพืชกลุ่มท่เี หลือจัดเปน็ พชื
ไร้เมล็ด (Cryptogams) แต่ถ้ารวมเฟิร์นและพชื กลุ่มใกล้เคยี งเฟิร์น (pteridophyte) เข้ากับพชื เมลด็ เปลอื ย
(Gymnosperm) และพชื ดอก (Angiosperm) จะเกดิ กลุ่มท่ีเรยี กว่าพืชมีท่อล�ำเลียง (tracheophyte หรือ vascular
plant) ส่วนพืชกลุ่มมอส ลิเวอร์เวิร์ต และฮอร์นเวริ ์ต จดั เป็นกลุ่มพชื ไม่มีท่อล�ำเลยี ง (bryophyte หรอื non vascular
plant)

ชือ่ ตา่ ง ๆ ทต่ี อ้ งเก่ยี วขอ้ งและใช้เปน็ ประจำ�

วงศ์ (Family) ช่อื วงศ์จะต้องลงท้ายด้วย –aceae ตามกฎของ ICN แต่มขี ้อยกเว้นส�ำหรับชอื่ พชื บางวงศ์ที่ไม่ได้ลงท้าย

ด้วย –aceae โดยชอ่ื เหล่านีถ้ ูกใช้มาเปน็ เวลานานและเป็นทค่ี ุ้นเคยหรอื นิยมมากกว่า ICN จึงอนุญาตให้ใช้ชอ่ื วงศ์เหล่านี้ได้
เรยี ก alternative names ซงึ่ หมายถึงชื่อที่สามารถถูกเลือกใช้แทนช่อื วงศ์ที่ถูกต้องตามกฎได้ ช่ือวงศ์เหล่านี้ได้แก่

คู่มือจำ�แนกพรรณไม้

6 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์ุพืช สกลุ ต้นแบบ ตัวอยา่ ง
Alternative name ชือ่ ตามกฎ ICBN

Compositae Asteraceae (type genus) สาบเสือ ทานตะวัน โดไ่ ม่รู้ล้ม
Cruciferae Brassicaceae Aster L. ผักกาด คะน้า กะหล�ำ่ ปลี
Gramineae Brassica L. หญ้า ไผ่ แขม อ้อย ข้าว
Guttiferae Poaceae Poa L. ติ้ว รง ชะมวง มงั คดุ กระทิง
Labiatae Clusiaceae Clusia L. สกั ซ้อ ตีนนก กะเพรา
Leguminosae Lamiaceae Lamium L. แดง ประดู่ มะคา่ โมง ถ่ัว
Palmae Fabaceae Faba Mill. หมาก ปาลม์ หวาย มะพร้าว
Umbelliferae Arecaceae Areca L. ผักชี ผกั ชีฝรงั่
Apiaceae Apium L.

ส�ำหรบั วงศ์ถั่ว (Leguminosae หรือ Fabaceae) ซง่ึ เป็นวงศ์ใหญ่ สถาบันทางพฤกษศาสตร์บางแห่งใช้ระบบ
การจ�ำแนกทแ่ี บ่งเปน็ 3 วงศ์ย่อย (subfamily) ได้แก่ Caesalpinioideae, Mimosoideae และ Papilionoideae (หรือ
Faboideae) ส่วนบางแห่งอาจใช้ระบบการจ�ำแนกท่แี บ่งเป็น 3 วงศ์ได้แก่ Caesalpiniaceae, Mimosaceae และ
Papilionaceae (หรือ Fabaceae) ดังนนั้ การใช้ค�ำว่า Fabaceae จึงมคี วามหมายได้ 2 แบบ คือ แบบแรกหมายถงึ วงศ์
ใหญ่ทั้งวงศ์ (ใช้สลับกบั Leguminosae ได้) เปน็ ความหมายแบบกว้าง แบบทส่ี องถ้าวงศ์ถ่ัวถูกแบ่งแยกเป็น 3 วงศ์
คอื Caesalpiniaceae, Mimosaceae และ Papilionaceae ค�ำว่า Fabaceae จะใช้สลบั กบั Papilionaceae ได้ เป็นความ
หมายแบบแคบ

สกุล (Genus) และค�ำระบชุ นดิ (Specific epithet) ชอื่ สกุลและค�ำระบุชนดิ ชนดิ มักถกู ใช้คู่กนั

เสมอเป็นชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) หรอื ช่ือวทิ ยาศาสตร์ (Scientific name) ของพชื ชอ่ื พฤกษศาสตร์กบั ชอ่ื
วิทยาศาสตร์มคี วามหมายเหมอื นกันและใช้แทนกันได้ สกุลในภาษาอังกฤษใช้ค�ำว่า genus ถ้าหลายสกุลเปน็
พหูพจน์ให้ใช้ค�ำว่า genera

ชื่อพฤกษศาสตร์ของพชื ในสมัยโบราณมกั ประกอบด้วยค�ำสามค�ำหรอื มากกว่าขึน้ ไป เรยี กว่า polynomials
ตวั อย่างเช่น ในหนงั สอื ของ Clusius (1583) เขียนชื่อของต้นหลวิ ชนิดหน่งึ เปน็ Salix pumila angustifolia altera
เปน็ การอธบิ ายว่าเป็นต้นแคระ ใบแคบและเรยี งสลับ ซึง่ เปน็ ชอื่ ทย่ี าวมาก ไม่สะดวกในการใช้ ปจั จุบันชื่อ
พฤกษศาสตร์ของพชื ใช้ระบบ binomial nomenclature ซึง่ ประกอบไปด้วยค�ำ 2 ค�ำ คือชื่อสกลุ กบั ค�ำระบุชนดิ
หนงั สอื Species Plantarum ของ Linnaeus ที่ตพี มิ พ์ในปี 1753 ถอื เป็นจุดเรม่ิ ต้นของระบบ binomial nomenclature
ท่ใี ช้อยู่ในปจั จุบัน

ชื่อพฤกษศาสตร์หรอื ชื่อวทิ ยาศาสตร์ของพชื ก�ำหนดให้เปน็ ภาษาละตนิ หรอื ค�ำท่มี าจากภาษาอ่นื แต่ถกู
แปลงให้เปน็ ภาษาละตนิ แล้ว ทพ่ี บได้บ่อยคอื ค�ำที่มรี ากศพั ท์มาจากภาษากรีกโบราณ เหตทุ กี่ �ำหนดชือ่ พฤกษศาสตร์
ให้เปน็ ภาษาละตนิ เพราะภาษาละตินเป็นภาษาเก่าแก่ เป็นรากภาษาของชาตติ ่าง ๆ ในยุโรป ภาษาละตนิ ไม่มกี าร
เคลอื่ นไหวเปล่ยี นแปลงอกี ต่อไปแล้ว ท�ำให้ไม่มีการเปล่ยี นแปลงของความหมาย หรอื ไม่มกี ารกร่อนของภาษา และ
ไม่ได้ใช้เปน็ ภาษาพูดประจ�ำชาตใิ ดชาตหิ นึง่ ในปจั จุบัน ซง่ึ ท�ำให้ผู้ใช้เกดิ ความเต็มใจ ไม่เกดิ อคตเิ วลาใช้ (ไม่ควรเรยี ก
ว่าเปน็ ภาษาทต่ี ายแล้วดังปรากฏตามเอกสารต่าง ๆ)

เหตทุ ต่ี ้องใช้ชือ่ พฤกษศาสตร์ส�ำหรับพืชเพราะว่า ชอ่ื สามญั (ชือ่ ในภาษาองั กฤษ)ชือ่ พื้นเมอื ง หรือชอ่ื ท้องถ่นิ

7
(ช่อื ในภาษาใด ๆ ทไ่ี ม่ใช่ภาษาละตนิ และองั กฤษ) ไม่สามารถส่อื ความหมายหรอื แสดงให้เห็นถงึ ความสัมพนั ธ์
ระหว่าง genus และ family เช่น ถ้าเขียนค�ำว่า มะม่วงหรอื Mango จะไม่แสดงให้เหน็ ความสัมพันธ์ใด ๆ แต่ถ้าเขยี น
ช่อื พฤกษศาสตร์เพ่มิ ขึน้ มาเปน็ Mangifera indica L. จะท�ำให้ทราบว่ามะม่วงนนั้ อยู่ในสกลุ Mangifera ซ่งึ จดั อยู่ใน
วงศ์ Anacardiaceae หรอื เม่ือเขียนช่อื พชื ชนิดหนง่ึ ว่า ‘รัก’ โดยไม่มีชอ่ื พฤกษศาสตร์ก�ำกับ ก็ไม่อาจทราบได้ว่า
หมายถงึ พืชชนิดใดกนั เพราะช่ือต้นไม้ทม่ี ีช่ือพ้ืนเมอื งเรยี กว่า ‘รกั ’ หมายถงึ พชื หลายชนดิ และอยู่ต่างวงศ์กนั แต่ถ้า
มชี อื่ พฤกษศาสตร์ก�ำกบั เป็น Gluta laccifera (Pierre) Ding Hou กท็ �ำให้ทราบว่าเปน็ ไม้ต้นท่อี ยู่ในวงศ์ Anacardiaceae
เช่นเดยี วกบั มะม่วง โดยรักชนดิ นมี้ ีชอ่ื เรียกทั่วไปว่า รกั แต่ทางภาคอสี านเรยี ก น้�ำเกลยี้ ง ทางใต้เรยี กรกั เขา เป็นต้น
นอกจากนช้ี อื่ สามัญ ช่ือพนื้ เมือง หรือชอ่ื ท้องถิน่ ไม่สามารถน�ำไปใช้ในการสอ่ื ความหมายทางวชิ าการได้
เน่อื งจากเปน็ ช่อื ที่ใช้อยู่เฉพาะท้องทใ่ี ดท้องทห่ี นึ่ง ไม่เป็นภาษาสากล นอกจากปัญหาในความไม่เปน็ สากลของช่อื
สามัญ ช่ือพน้ื เมือง หรือช่อื ท้องถิน่ แล้ว พืชบางชนดิ อาจมชี ือ่ สามญั ชอ่ื พ้นื เมือง หรอื ชือ่ ท้องถน่ิ หลายช่อื มาก และ
ในทางตรงข้ามพชื หลายชนดิ อาจมชี ื่อสามญั ช่ือเดยี วกนั หรอื เหมอื นกัน รวมทัง้ พชื บางชนดิ ไม่มชี ือ่ สามัญ ชื่อพื้น
เมอื ง หรอื ชอ่ื ท้องถ่นิ ให้ใช้เรียก ส�ำหรับหนงั สอื ช่ือพรรณไม้แห่งประเทศไทยของ ศ. เตม็ สมติ นิ ันทน์ ในอดตี เป็น
หนงั สือทร่ี วบรวมชือ่ พฤกษศาสตร์เฉพาะพชื ท่ีมชี ือ่ พน้ื เมอื งเรยี กเท่าน้นั แต่ในฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ปี 2557 ได้ใส่ช่อื
พฤกษศาสตร์ของพชื จากหนังสือพรรณพฤกษชาตปิ ระเทศไทยทต่ี ีพมิ พ์แล้วแต่ยงั ไม่มชี ือ่ พน้ื เมอื งไว้ด้วย ยังมพี ืชป่า
ไทยอีกจ�ำนวนมากทไ่ี ม่มีชือ่ พื้นเมืองเรยี ก หรอื มีแต่ผู้บันทกึ ข้อมลู ไม่ทราบ
ชอ่ื พฤกษศาสตร์หรือช่ือวทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วยค�ำสองค�ำ เป็นระบบช่ือทีเ่ รียกว่า binomial nomenclature
ดงั กล่าวข้างต้น ค�ำแรกเปน็ ชอ่ื สกุล (generic name) ค�ำทสี่ องเปน็ ค�ำระบชุ นดิ (specific epithet) ไม่ใช่เปน็ ช่ือ species
อย่างท่ีชอบเรยี กหรอื เข้าใจผิดกัน ตัวอย่างเช่นไม้ซ้อมชี ่ือวิทยาศาสตร์ว่า Gmelina arborea Roxb. ชือ่ species ของ
ซ้อคอื Gmelina arborea ไม่ใช่เฉพาะ arborea ค�ำหลัง หรือมะม่วงมชี ่ือพฤกษศาสตร์ว่า Mangifera indica L. ชือ่
species ของมะม่วงคอื Mangifera indica ไม่ใช่เฉพาะ indica ค�ำหลัง ในการเขยี นชอื่ พฤกษศาสตร์ทส่ี มบรู ณ์จะต้อง
มชี ่อื บคุ คลผู้ตั้งชอื่ พชื น้นั (author) ต่อท้ายด้วย ดงั เช่นตามตวั อย่างข้างต้น Roxburg และ Linnaeus เปน็ ผู้ตง้ั ชื่อ
พฤกษศาสตร์ของซ้อและมะม่วงตามล�ำดบั หลักการเขยี นช่อื author ให้ยึดตามหนังสอื Authors of Plant Names
ของสวนพฤกษศาสตร์ควิ สหราชอาณาจักร
ช่อื พฤกษศาสตร์มกั มชี อื่ พ้อง (synonym) เสมอ ชื่อใดเปน็ ช่ือท่ถี กู ต้อง (correct name) ต้องถอื หลกั priority
เปน็ ส�ำคญั ชือ่ ใดท่ตี ีพมิ พ์ก่อนและถกู ต้องตามกฎ ICN จะได้รบั การยอมรบั ให้เปน็ ชอ่ื ทถี่ ูกต้องซงึ่ ทกุ ประเทศยอมรบั
ช่ือใดจะเป็นช่ือที่ถูกต้องนั้นเป็นหน้าท่ีของนักพฤกษศาสตร์สาขาอนุกรมวิธานพืชท่ีจะต้องศึกษาทบทวนเพราะต้อง
ใช้ความรู้และประสบการณ์มาก ตวั อย่างเช่น แต่ก่อนเรารู้จักช่อื พฤกษศาสตร์ของพะยอมว่า Shorea talura Roxb.
แต่ภายหลงั ช่อื ทถ่ี ูกต้องของพะยอมถกู เปลย่ี นเปน็ Shorea roxburghii G. Don เป็นต้น ชื่อ Shorea talura Roxb. จึง
กลายเปน็ ชื่อพ้องไป หรือในท�ำนองเดยี วกัน กล้วยไม้ดนิ นางอว้ั สาคริก Pecteilis hawkessiana (King & Pantl.) C. S.
Kumar มี Pecteilis sagarikii Seidenf. เป็นชอ่ื พ้อง เป็นต้น
ช่อื generic name ให้เขียนขน้ึ ต้นด้วยตัวใหญ่ ส่วนช่ือ specific epithet ให้เขยี นข้นึ ต้นด้วยตัวเล็ก ยกเว้นชอ่ื
ทม่ี าจากชอ่ื บคุ คล หรือช่อื ทเ่ี คยเปน็ ชือ่ สกลุ มาก่อน ในอดตี อาจเขยี นขน้ึ ต้นด้วยตวั ใหญ่ แต่ปัจจบุ ันนยิ มให้เขยี นเป็น
ตวั เล็กหมด (เช่น พดุ ราชา Clerodendrum Schmidtii ให้เขยี นเปน็ Clerodendrum schmidtii) ทัง้ generic name และ
specific epithet ให้ขดี เส้นใต้ พิมพ์เป็นตวั หนา หรือพมิ พ์เปน็ ตัวเอน เพอ่ื ให้รู้ว่าเป็นชอ่ื ในภาษาละตนิ ส่วนช่ือ author
ให้เขียนไปตามปกติ คือไม่ขีดเส้นใต้ ไม่เปน็ ตัวหนา หรอื ไม่เป็นตวั เอน ตัวอย่างเช่น

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

8 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธ์ุพืช มะม่วง Mangifera indica L.
ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don

Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don Mangifera indica L.

Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don Mangifera indica L.

การขีดเส้นใต้ ปกตนิ ยิ มใช้เมื่อเขยี นด้วยมือหรอื พมิ พ์ด้วยเครอื่ งพมิ พ์ดดี ส่วนการพมิ พ์ด้วยเครื่อง
คอมพวิ เตอร์นยิ มให้เปน็ ตัวเอนหรอื ตัวหนา ปจั จบุ ันตามเอกสารทางวชิ าการท่ัวไปนยิ มใช้เป็นตัวเอนมากท่สี ุด ถ้ามี
subspecies (ใช้ตัวย่อ subsp. หรอื ssp. ) หรือ variety (ใช้ตัวย่อ var.) ให้ค�ำว่า subsp., ssp. หรอื var. เขยี นเป็นตัว
ปกติ คอื ไม่ขีดเส้นใต้ ไม่หนาหรอื เอน ตวั อย่างเช่นตว้ิ ขน Cratoxylum formosum (Jack) Dyer supsp. pruniflorum
(Kurz) Gogel. หรอื Cratoxylum formosum (Jack) Dyer ssp. pruniflorum (Kurz) Gogel. ง้วิ ป่าดอกขาว Bombax
anceps Pierre var. anceps

ถ้าเป็นชอื่ พนั ธ์ุปลกู (cultivar names) ให้เขียนชอ่ื พนั ธ์ุขน้ึ ต้นด้วยตัวใหญ่ในเครอ่ื งหมายอญั ประกาศเดย่ี ว
‘ ’ (ไม่ใช่ “ ”) และให้เขยี นเป็นตวั ปกติ คือไม่เอียง ไม่เอน ไม่หนา ช่อื author ไม่ต้องอ้าง เช่น คทั ลยี าควินสิรกิ ิติ์
Cattleya ‘Queen Sirikhit’ ดอนญ่าควินสิรกิ ติ ์ิ Mussaenda philippica ‘Queen Sirikit’ ไทรย้อยใบด่าง Ficus benjamina
‘Variegata’ ไฮแดรนเยยี Hydrangea macrophylla ‘Ami Pasquier’ ตวั ย่อ cv. แต่ก่อนอนญุ าตให้ใช้ได้แต่ปัจจบุ นั
ห้ามใช้ ตัวอย่างเช่น กุหลาบควนี สิรกิ ติ ิ์ Rosa cv. Queen Sirikit หรอื Rosa cv. ‘Queen Sirikit’ เปน็ การเขยี นทีผ่ ดิ
ทีถ่ กู ต้องคือ Rosa ‘Queen Sirikit’ โดยต้องตดั ค�ำว่า cv. ออก การเขยี นและตัง้ ชือ่ พันธ์ุปลูกถูกควบคุมโดย
International Code of Nomenclature for Cultivated Plants

ถ้าเปน็ ชื่อลูกผสม (hybrid names) จะมีเครื่องหมายคูณ (×) แสดงให้ทราบว่าเปน็ ลกู ผสม ตวั อย่างเช่น
Agrostis L. × Polypogon Desf.; Mentha aquatic L. × M. arvensis L. × M. spicata L. เคร่อื งหมายคูณ (×) ต้องไม่
เอียง ถ้าไม่มเี คร่ืองหมายน้ใี นคอมพิวเตอร์ให้ใช้ตวั อักษร x แทนได้ แต่ต้องเป็นตัวพมิ พ์เลก็ เท่านน้ั ในเอกสารทาง
วิชาการทว่ั ไป ชื่อ generic name เม่ือกล่าวถึงเป็นครงั้ ท่สี อง อาจใช้ตัวย่อจากอักษรตัวแรกทเ่ี ป็นตวั พมิ พ์ใหญ่ได้
ตราบใดที่ไม่ท�ำให้เกดิ ความสับสน ตวั อย่างเช่น เมอ่ื กล่าวถึง ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus Kurz แล้ว เมื่อ
กล่าวถงึ ประดู่กง่ิ อ่อนทีหลัง อาจใช้ตัวย่อได้ เช่น P. indicus Willd. เปน็ ต้น ส่วนการกล่าวถงึ ช่อื สกุลถ้ากล่าวถงึ โดย
รวมโดยไม่ระบวุ ่าเป็นชนดิ ใดอาจใช้ spp. ต่อท้ายช่อื สกุลได้ เช่นถ้าต้องการเขยี นป้ายปักไว้หน้าแปลงกล้าไม้ในสกลุ
ยางซง่ึ มีหลายชนดิ แต่ไม่มกี ารระบใุ ห้แน่ชัดว่าเปน็ ชนดิ ใดบ้าง อาจเขียนเป็น Dipterocarpus spp. แต่ถ้าเป็นการ
กล่าวถงึ ต้นไม้ชนดิ เดยี วท่ีทราบชอื่ สกุลแต่ไม่ทราบว่าเป็นชนดิ ใดให้ใช้ sp. ต่อท้าย ตัวอย่างเช่นต้องการเขยี นป้าย
แสดงช่ือต้นไม้ต้นหน่งึ ตามเส้นทางศกึ ษาธรรมชาตซิ ึง่ ทราบแน่นอนว่าเปน็ พชื สกุลยางแต่ไม่ทราบชนดิ อาจเขียนได้
เปน็ Dipterocarpus sp. กรณนี ีห้ ้ามใช้ Dipterocarpus spp. โดยเด็ดขาดเพราะเป็นพหพู จน์หมายถงึ หลายชนดิ

ชอ่ื สกุล (generic name) และค�ำระบชุ นดิ (specific epithet) อาจมที ีม่ าได้หลายทาง อาจก�ำหนดตาม
ลกั ษณะของพชื ชอ่ื บุคคล ชอื่ พ้นื เมือง หรอื แหล่งทีพ่ บพืช

ตวั อย่างช่อื สกลุ (generic name)

ตั้งตามชอื่ บุคคล ตัวอย่างเช่น

สกุลเอือ้ งศรี (ศรปี ระจิม ศรอี าคะเนย์ และศรีเชียงดาว) Sirindhornia (Orchidaceae) เป็นสกลุ กล้วยไม้ และ
สกุลเครือเทพรัตน์ Thepparatia (Malvaceae) ต้ังให้เป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

9
สกุลถวั่ แปบช้าง Afgekia (Leguminosae-Papilionoideae), สกลุ ปาล์มเจ้าเมืองถลาง Kerriodoxa (Palmae)
ตงั้ ให้เป็นเกยี รตแิ ก่ A. F. G. Kerr นายแพทย์ชาวไอรชิ ผู้บกุ เบกิ ส�ำคญั ในการส�ำรวจพรรณพฤกษชาตขิ อง
ประเทศไทย ท่านได้เก็บพันธุ์ไม้ท่ัวประเทศมากกว่า 25,000 หมายเลข
สกุลเสี้ยว Bauhinia (Leguminosae-Caesalpinioideae) ตงั้ ให้เป็นเกยี รติแก่ Caspar Bauhin
นักพฤกษศาสตร์ชาวสวสิ
สกลุ ไม้ฝาง Caesalpinia (Leguminosae-Caesalpinioideae) ตง้ั ให้เปน็ เกียรตแิ ก่ Andrea Caesalpino
นกั พฤกษศาสตร์ชาวอติ าเลียน ซง่ึ เปน็ นกั อนกุ รมวธิ านพชื คนแรก
สกลุ Garrettia (Labiatae) ต้งั ให้เป็นเกยี รติแก่ H. B. G. Garrett ชาวอังกฤษ อดตี ข้าราชการกรมป่าไม้
ส�ำรวจและเกบ็ ตวั อย่างพันธุ์ไม้บรเิ วณจังหวดั เชยี งใหม่และเชยี งราย
สกลุ เอ้อื งเขม็ หนู Smitinandia (Orchidaceae) ตั้งให้เปน็ เกยี รตแิ ก่ ศ. ดร. เต็ม สมิตนิ นั ทน์ ผู้เช่ยี วชาญ
ด้านพฤกษศาสตร์ผู้มบี ทบาทส�ำคัญในการก่อตง้ั โครงการพรรณพฤกษชาตปิ ระเทศไทย (Flora of Thailand Project)
สกลุ แคสันติสขุ Santisukia (Bignoniaceae) ตั้งให้เปน็ เกยี รติแก่ ศ. ดร. ธวัชชยั สันติสขุ ผู้เช่ียวชาญ
ด้านส�ำรวจและจ�ำแนกพนั ธุ์ไม้ประจ�ำหอพรรณไม้
สกุลเอ้อื งหนวดพราหมณ์ Seidenfadenia (Orchidaceae) ตง้ั ให้เปน็ เกยี รตแิ ก่ Dr. Gunnar Seidenfaden
อดีตเอกอคั รราชทูตเดนมาร์กประจ�ำประเทศไทย ผู้บุกเบกิ การศกึ ษาทางด้านอนกุ รมวธิ านของกล้วยไม้เมอื งไทย
สกุล Thawatchia (Podostemaceae) สกลุ พืชดอกขนาดเล็กชอบขน้ึ บนลานหนิ ในล�ำธารมนี �้ำไหล ตัง้ ให้เป็น
เกียรตแิ ก่ ศ. ดร. ธวชั ชยั สันตสิ ขุ และนายธวัชชัย วงศ์ประเสรฐิ นักพฤกษศาสตร์หอพรรณไม้

ตงั้ ตามลักษณะของพชื ตวั อย่างเช่น

สกลุ ประดู่ Pterocarpus (Leguminosae-Papilionoideae) ตงั้ ตามลกั ษณะผลที่มปี ีก Ptero-carpus มาจาก
รากศัพท์ในภาษากรกี ว่า Pteran ซง่ึ แปลว่าปีก กบั karpos ซง่ึ แปลว่า ผล
สกลุ เทยี น Impatiens (Balsaminaceae) ตงั้ ตามลักษณะของผลท่แี ตกง่ายเม่อื สมั ผสั impatiens เปน็ ภาษา
ละตินหมายถงึ impatient ในภาษาองั กฤษ ซ่งึ แปลว่า ไม่อดทน หรอื ใจร้อน
สกุลคราม Indigofera (Leguminosae-Papilionoideae) ตง้ั ตามลกั ษณะพชื ที่ให้สนี ้ำ� เงนิ ซึ่งใช้ย้อมผ้า indigo
เปน็ เฉดสหี นง่ึ ของสนี ้�ำเงนิ ส่วน fera มาจาก fer แปลว่า ชกั น�ำ หรอื ท�ำให้เกดิ
สกุลยาง Dipterocarpus (Dipterocarpaceae) ต้งั ตามลกั ษณะผลทม่ี ีปีกยาว 2 ปีก คล้ายกับช่อื สกลุ
Pterocarpus แต่มคี �ำว่า di ซ่งึ แปลว่าว่า สอง
สกลุ ตงั ตาบอด Excoecaria (Euphorbiaceae) ตงั้ ตามลักษณะยางทม่ี พี ษิ ท�ำให้ตาบอด

ต้งั ตามชื่อพ้นื เมอื ง ตวั อย่างเช่น

สกุลอบเชย Cinnamomum (Lauraceae) ตงั้ ตามชือ่ พ้นื เมอื งภาษากรีก Kinnamomon
สกลุ กล้วย Musa (Musaceae) ตงั้ ตามชอื่ ภาษา อาราบคิ Mauz, Mouz หรอื Muza

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

10 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ตัง้ ตามแหล่งทพ่ี บ ตัวอย่างเช่น

สกลุ ว่านแผ่นดนิ ไทย Thaia (Orchidaceae) เป็นสกลุ กล้วยไม้ดนิ ท่ีพบเฉพาะในประเทศไทย (endemic)
สกุลกกเขาสก Khaosokia (Cyperaceae) เป็นกกสกลุ ใหม่พบบนหน้าผาหนิ ปูนเหนอื อ่างเก็บน�้ำเข่ือนรชั ช
ประภา อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาสก

ตัวอย่างค�ำระบุชนดิ (specific epithet)

ตง้ั ตามลักษณะของพชื ทีพ่ บส่วนใหญ่จะเปน็ ค�ำคณุ ศัพท์ ตวั อย่างเช่น alba (สีขาว)

rubra (สแี ดง) alatus (มีปีก) angustifolia (ใบแคบ) aquaticus (อยู่ในนำ้� ) aureus (สีทอง) barbatus (มขี น) bicolor (สอง
ส)ี canescens (สีเทา) edulis (กนิ ได้) erectus (ต้งั ตรง) foetidus (กล่นิ เหม็น) grandiflorus (ดอกใหญ่) macrophyllus
(ใบใหญ่) nigrescens (สดี �ำ) parviflorus (ดอกเล็ก) viridis (สเี ขยี ว)

ต้งั ตามสถานท่หี รอื แหลง่ ทพ่ี บคร้ังแรก ตวั อย่างเช่น thailandica, siamensis,

siamense (ไทย) chinensis, chinense (จีน) japonica (ญป่ี ุ่น) malayana (มาเลเซีย) nepalensis (เนปาล) annamense
(ภาคกลางของเวยี ดนาม) attopeuensis (แขวงอตั ตะปือ ลาว) chiangdaoense (เชยี งดาว เชียงใหม่) การตง้ั ชอ่ื
ลกั ษณะนีไ้ ม่ได้หมายความว่าพชื ทเี่ รากล่าวถงึ จะพบได้มาก หรือพบเฉพาะในท่นี ั้น ๆ เท่านนั้ (เป็นเพงี แค่การต้งั ช่ือ
อาจพบมากหรอื น้อยกไ็ ด้) ตัวอย่างเช่น เกล็ดตะเข้ Albizia attopeuensis (Pierre) I. C. Nielsen (Leguminosae-
Mimosoideae)) ไม่ได้หมายความว่าพชื ชนดิ นมี้ าจากแขวงอตั ตะปือ ภาคใต้ของลาว หรือพบมากเฉพาะทแ่ี ขวงอัตตะ
ปือเท่าน้ัน เป็นเพยี งแต่ว่าเมอ่ื มกี ารตง้ั ชอื่ ครง้ั แรก พืชที่นกั พฤกษศาสตร์ตรวจสอบเปน็ พชื ที่เกบ็ มาจากแขวงอัตตา
ปือ ในไทยสามารถพบพืชนดิ นี้ได้ท่วั ไปในป่าเต็งรัง อีกตัวอย่างหน่งึ เช่นก่วมเชยี งดาว Acer chiangdaoense Santisuk
(Aceraceae) พบครั้งแรกท่ีดอยเชียงดาว เชยี งใหม่ แต่เม่อื มกี ารส�ำรวจเพ่มิ ขน้ึ ก็พบได้อกี ทเี่ ขาหนิ ปนู ดอยตงุ
เชียงราย เปน็ ต้น

ชอื่ ทตี่ ้งั ใหเ้ ปน็ เกยี รตแิ ก่บุคคล ตวั อย่างเช่น

โมกราชินี Wrightia sirikitiae D. J. Middleton & Santisuk (Apocynaceae) ตั้งให้เป็นเกยี รตแิ ก่สมเดจ็
พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ
สริ นิ ธรวลั ลี Bauhinia sirindhorniae K. Larsen & S. S. Larsen (Leguminosae-Caesalpinoideae) และจ�ำปี
สิรธิ ร Magnolia sirindhorniae H. P. Nooteboom & P. Chalermglin (Magnoliaceae) ตงั้ ให้เป็นเกียรตแิ ก่สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
เปล้าสนั ตสิ ขุ Croton santisukii H. K. Airy Shaw (Euphorbiaceae) ตัง้ ให้เป็นเกยี รติแก่ ศ. ดร.ธวชั ชยั สนั ติสขุ
ประกายแสด Mallotus kongkandae Welzen & K. Phattarahirankanok (Euphorbiaceae) เปล้าศรรี าชา
Croton kongkandanus Esser (Euphorbiaceae) ตง้ั ให้เปน็ เกยี รตแิ ก่ ดร. ก่องกานดา ชยามฤต
ดอกใต้ต้น Sauropus poomae Welzen & Chayamarit (Euphorbiaceae) ตง้ั ให้เป็นเกยี รตแิ ก่ ดร.ราชนั ย์ ภู่มา
เสม็ดน�ำ้ Syzygium putii P. Chantaranothai & J. Parnell (Myrtaceae) ต้งั ให้เปน็ เกยี รติแก่นายพุฒ
ไพรสุรนิ ทร์ ผู้ช่วยหมอคาร์

11
หนาดค�ำ Clerodendrum vanprukii Craib ตงั้ ให้เป็นเกียรตแิ ก่พระยาวนั พฤกษ์พจิ ารณ์ (ทองค�ำ เศวตศลิ า)
มะพลับเจ้าคุณ Diospyros winitii H. R. Fletcher (Ebenaceae) ตง้ั ให้เป็นเกยี รตแิ ก่พระยาวนิ จิ วนันดร
เหย่อื เลียงผา Impatiens kerriae Craib (Balsaminaceae) ตงั้ ให้เป็นเกียรตแิ ก่ภรรยาหมอคาร์
เทยี นนายเนย Impatiens noei Craib (Balsaminaceae) ตัง้ ให้เปน็ เกยี รติแก่นายเนย อิศรางกรู ณ อยธุ ยา
ผู้ช่วยหมอคาร์
ตองแห้งอนันต์ Hedyotis nalampoonii Fukuoka (Rubiaceae) ตง้ั ให้เปน็ เกียรตแิ ก่นายอนนั ต์ ณ ล�ำพนู
อดตี ข้าราชการกรมป่าไม้
กระดมุ เต็ม Eriocaulon smitinandii Moldenke (Eriocaulaceae) หญ้ากาบแดง Fimbristylis smitinandii T.
Koyama (Cyperaceae) กลุ เขา Madhuca smitinandii Chantar. (Sapotaceae) กรกนก Typhonium smitinandii
Sookch. & J. Murata (Araceae) ตงั้ ให้เป็นเกียรตแิ ก่ ศ. ดร.เตม็ สมติ นิ ันทน์
โมกการะเกตุ Wrightia karaketii D. J. Middleton (Apocynaceae) ตง้ั ให้เปน็ เกยี รติแก่นายปรชี า การะเกตุ
เจ้าหน้าทีห่ อพรรณไม้ผู้ถ่ายภาพและเก็บตวั อย่าง

ข้อสงั เกต ช่ือสกุล (generic name) กบั ค�ำระบุชนดิ (specific epithet) จะต้องสอดคล้องกนั ถูกต้อง

ตามกฎไวยากรณ์ละตนิ ชอ่ื specific epithet จะต้องสอดคล้องกับเพศของ generic name ซึ่งแบ่งได้เป็นเพศชาย
(Masculine) เพศหญงิ (Feminine) และไม่มเี พศ (Neuter) การก�ำหนดเพศให้กบั ช่ือสกุลให้เป็นไปตามธรรมเนยี ม
ปฏิบัติทางพฤกษศาสตร์ ถ้าไม่มธี รรมเนียมปฏิบตั ิ ก็ให้เปน็ ไปตามท่ี author ส�ำหรับสกุลนัน้ ๆ ก�ำหนด สิ่งเหล่านี้เปน็
เรอื่ งยุ่งยาก ต้องใช้ประสบการณ์ และมีข้อยกเว้นมากมาย แม้แต่นกั พฤกษศาสตร์เองก็ใช่ว่าทกุ คนจะเข้าใจได้
ถ่องแท้ อย่างไรก็ตามพอยกตัวอย่างได้คร่าว ๆ ส�ำหรบั ค�ำทลี่ งท้ายด้วย a, us, um และ is ซง่ึ ต้องสอดคล้องระหว่าง
ชอ่ื สกลุ กบั ค�ำระบุชนดิ ดงั นี้

ชอ่ื สกลุ เพศหญงิ ช่ือสกุลเพศชาย ช่อื สกุลไม่มเี พศ

Rosa damascena Pterocarpus indicus Clerodendrum paniculatum
กหุ ลาบมอญ ประดู่ก่งิ อ่อน พนมสวรรค์

(a, us, um ค�ำลงท้ายของค�ำระบชุ นดิ ต้องเปลีย่ นให้สอดคล้องกับสกุลเพศหญงิ ชาย และสกลุ ไม่มเี พศ)

Vanilla siamensis Calamus siamensis Baliospermum siamense

พลูช้าง หวายขม เปล้าตองแตก

(is ค�ำลงท้ายของค�ำระบุชนดิ ส�ำหรับสกลุ เพศหญงิ และชายใช้เหมอื นกนั เปลีย่ นเฉพาะสกุลไม่มเี พศ)

ค�ำระบุชนิด (specific epithet) ท่ีไม่ลงท้ายด้วย a, us, um และ is ตามแบบข้างต้น แต่ลงท้ายด้วยค�ำอืน่ เช่น
-ans, -ens, -or, -x ไม่ต้องมกี ารเปลย่ี นแปลงไม่ว่าชอ่ื สกุลจะเปน็ เพศหญิง เพศชาย หรอื ไม่มเี พศ ตวั อย่างเช่น

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

12 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธ์ุพืช ช่อื สกุลไม่มเี พศ
ชื่อสกุลเพศหญงิ ชือ่ สกุลเพศชาย

Rosa elegans Acanthus elegans Allium elgans

Rosa simplex Acanthus simplex Allium simplex

Ludwigia repens Ranunculus repens Trifolium repens

Ludwigia bicolor Ranunculus bicolor Trifolium bicolor

จะเหน็ ว่า is ใช้ลงท้าย specific epithet ได้ท้ังสกลุ ท่ีเป็นเพศชายและเพศหญงิ (Vanilla siamensis
ชอื่ สกลุ เปน็ เพศหญงิ Calamus siamensis ชอื่ สกลุ เป็นเพศชาย) ส่วน e ใช้ลงท้าย specific epithet ของสกลุ ไม่มเี พศ
เท่าน้นั เพราะฉะนัน้ ถ้าเห็นค�ำระบชุ นดิ (specific epithet) ลงท้ายด้วย ensis ชือ่ สกลุ อาจเป็นเพศชายหรอื หญงิ ก็ได้
แต่ถ้าลงท้ายด้วย ense แสดงว่าเปน็ ช่อื สกลุ ทไ่ี ม่มเี พศ

สกลุ ของไม้ต้นบางสกลุ ท่ลี งท้ายด้วย –us ถงึ แม้ว่าค�ำลงท้ายจะแสดงว่าเป็นเพศชาย แต่
ธรรมเนยี มปฏบิ ัตใิ ห้ถือเปน็ เพศหญงิ ตัวอย่างเช่น

ก่อข้ีกวาง Quercus acutissima (ไม่ใช่ acutissimus)

ก่อตาควาย Quercus brandisiana (ไม่ใช่ brandisianus)

พลัม Prunus domestica (ไม่ใช่ domesticus)

กุหลาบหนิ Rhamnus crenata (ไม่ใช่ crenatus)

ส�ำหรับ Eucalyptus ไม่มธี รรมเนยี มปฏิบัตวิ างไว้ ผู้ตพี มิ พ์ครงั้ แรกได้ก�ำหนดให้เปน็ เพศหญงิ ดังนน้ั ชอ่ื ชนดิ
จึงเขียนเปน็ Eucalyptus alba แทนทจ่ี ะเปน็ Eucalyptus albus

ช่อื สกุลทล่ี งท้ายด้วย -ceras, -dendron, -nema, -stigma, -stoma และสกุลส่วนใหญ่ท่ลี งท้ายด้วย -ma
เป็นกลุ่มสกลุ ไม่มเี พศ ตวั อย่างเช่น

กล้วยไม้น้อย Pteroceras ciliatum (= Biermannia ciliata)

กุหลาบผา Rhododendron longiflorum

ไม้ขนั Amesiodendron chinense

เครอื น่อง Anodendron affine

เขยี วหมน่ื ปี Aglaonema modestum

เออื้ งข้าวตอกหนิ Amitostigma thailandicum

ย่านเลอื ด หรือนมวัว Fissistigma rubiginosum

โคลงเคลง Melastoma malabathricum

หางเสือลาย Platostoma cochinchinense

ประดบั หนิ อสั สมั Argostemma khasianum 13

แห้วประดู่ Eriosema chinense

ชอ่ื ค�ำระบุชนดิ (specific epithet) ท่ีตัง้ ให้เป็นเกยี รตแิ ก่บุคคล โดยมคี �ำลงท้ายเป็น -i, -ii, -ae, -iae มหี ลกั
ดังนี้

ถ้าชือ่ บคุ คลลงท้ายด้วย e, i, o, u, y หรือ er ให้เตมิ i ส�ำหรบั เพศชาย ae ส�ำหรบั เพศหญงิ ยกเว้นลงท้าย
ด้วย a ให้เติม e ไม่ว่าเปน็ เพศชายหรอื หญงิ ตวั อย่างเช่น

เปล้าเลือด Croton poilanei Gagnep. ตงั้ ให้เปน็ เกยี รตแิ ก่ Mr. E. Poilane

ตานหก Litsea pierrei Lecomte ตง้ั ให้เปน็ เกยี รติ Mr. L. Pierre

- Cleistocalyx phengklaii Chantar. & J. Parn. ตั้งให้เปน็ เกียรตแิ ก่
ดร. จ�ำลอง เพง็ คล้าย (Phengklai)

- Cynanchum katoi Ohwi ตง้ั ให้เปน็ เกยี รติแก่ Mr. Kato

เออ้ื งผ้งึ Dendrobium lindleyi Steud. ตง้ั ให้เปน็ เกรี ตแิ ก่ Mr. J. Lindley

กหุ ลาบขาว Rhododendron lyi H. Lév. ตง้ั ให้เปน็ เกยี รติแก่ Mr. Ly

- Smitinandia helferi (Hook. f.) Garay ตง้ั ให้เป็นเกยี รตแิ ก่ Mr. Helfer

หม้อแกงลิง Nepenthes hookerae Hort. ex G. Beck ตงั้ ให้เป็นเกยี รตแิ ก่ Mrs. Hooker
(เพศหญิง)

ประกายแสด Mallotus kongkandae Welzen & K. Phattarahirankanok ตง้ั ให้เป็นเกยี รตแิ ก่
ดร. ก่องกานดา ชยามฤต (Kongkanda)

ดอกใต้ต้น Sauropus poomae Welzen & Chayamarit ตงั้ ให้เป็นเกยี รตแิ ก่ ดร.ราชันย์ ภู่มา
(Pooma)

กาบเชิงเทยี น Aglaonema chermsiriwattanae Sookch. ตง้ั ให้เปน็ เกรี ติแก่ ดร. จริ ายุพนิ
จนั ทรประสงค์ (นามสกลุ เดมิ เจิมศริ วิ ัฒน์, Chermsiriwattana)

ถ้าชื่อบคุ คลลงท้ายด้วยพยัญชนะ (ยกเว้น er) ให้เติม i ไปก่อนหน่ึงตวั แล้วตาม i อีกหนง่ึ ถ้าเป็นเพศชาย
หรอื ตามด้วย ae ถ้าเป็นเพศหญงิ ตวั อย่างเช่น

โมกราชนี ี Wrightia sirikitiae D. J. Middleton & Santisuk ตัง้ ให้เปน็ เกยี รติแก่สมเด็จ
พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ (Sirikit)

สริ นิ ธรวัลลี Bauhinia sirindhorniae K. Larsen & S. S. Larsen ตัง้ ให้เปน็ เกยี รติแก่สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (Sirindhorn)

เปล้าสันติสขุ Croton santisukii H. K. Airy Shaw ตง้ั ให้เปน็ เกยี รติแก่ ศ. ดร. ธวชั ชัย สันตสิ ุข
(Santisuk)
คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

14 กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์ุพืช
การตั้งช่ือให้เปน็ เกยี รตแิ ก่บคุ คลต้องยดึ ถือตามกฎดงั กล่าวข้างต้น ถ้ามขี ้อผดิ พลาด ให้ถอื ว่าเปน็ ความ
ผิดพลาดซงึ่ ตามกฎ ICN สามารถแก้ไขให้ถกู ต้องได้เม่อื มกี ารเขียนชื่อโดยไม่ต้องท�ำการตพี ิมพ์ใหม่ (หมายถงึ การตี
พมิ พ์ท่ีต้องท�ำตามกฎเกณฑ์ทางพฤกษศาสตร์) ช่อื สมยั ก่อนจะพบมากท่ตี งั้ ให้เปน็ เกยี รติแก่ผู้หญงิ ทม่ี คี �ำลงท้ายชอ่ื
เปน็ พยญั ชนะ แล้วเตมิ เฉพาะ ae โดยไม่เติม i ก่อน ตัวอย่างเช่น มังกรคาบแก้ว (Clerodendrum thomsoniae) ตง้ั ชือ่
ให้เป็นเกยี รตแิ ก่นาง Thomson (ชื่อลงท้ายด้วยพยัญชนะ n) ในเอกสารสมยั ก่อนจะพบช่อื พฤกษศาสตร์เขยี นเปน็
Clerodendrum thomsonae (ไม่มี i ตามหลัง n) ข้อผิดพลาดท่ีเกดิ ขึ้นลักษณะนี้ ในปจั จบุ ันเวลาเขียนช่ือให้เตมิ i ไปได้
เลย เปน็ Clerodendrum thomsoniae
ตวั อย่างพชื ทม่ี กั เขียนชอื่ พฤกษศาสตร์ผดิ
ชือ่ ท่มี กั เขียนผดิ ชื่อทถี่ กู ต้อง
กิ่งข้ึน Mitrephora collinsae Mitrephora collinsiae
พลบั ยอดด�ำ Diospyros collinsae Diospyros collinsiae
หญ้าใต้ใบ Actephila collinsae Actephila collinsiae
เสียว Phyllanthus collinsae Phyllanthus collinsiae
ขาเปี๋ย Premna collinsae Premna collinsiae
ตะแบกใบเลก็ Lagerstroemia collinsae Lagerstroemia collinsiae
พิลังสา Ardisia collinsae Ardisia collinsiae
ข่อยหิน Gardenia collinsae Gardenia collinsiae
เขม็ ใหญ่ Ixora collinsae Ixora collinsiae
เขม็ ขาว Tarenna collinsae Tarenna collinsiae
หนอนตายหยาก Stemona collinsae Stemona collinsiae
รสสคุ นธ์ Tetracera loureiri Tetracera loureiroi
จันทน์ผา Dracaena loureiri Dracaena loureiroi
ปาล์มสิบสองปนั นา Phoenix loureiri Phoenix loureiroi
แห้วกระต่าย Murdannia loureiri Murdannia loureiroi
ชือ่ กลุ่มแรกเป็นชอ่ื ท่ตี ง้ั ให้เปน็ เกยี รตแิ ก่ Mrs. D. J. Collins ผู้ส�ำรวจและเก็บตวั อย่างพันธุ์ไม้แถบ
ศรรี าชาในยคุ เดยี วกบั หมอคาร์ ช่อื กลุ่มทสี่ องเป็นช่ือทีต่ ง้ั ให้เป็นเกยี รติแก่ Mr. Loureiro

การอา้ งช่อื ผตู้ ั้งชอ่ื พชื (Author Citation)

ช่อื author มรี ปู แบบการย่อทเ่ี ป็นมาตรฐานตามหนงั สอื Authors of plant names ของ Brummitt & Powell

15
ตพี ิมพ์โดยสวนพฤกษศาสตร์ Kew สหราชอาณาจักร หนงั สอื ช่อื พรรณไม้แห่งประเทศไทยของ ศ. ดร. เตม็ สมติ ิ
นันทน์ ก็ยึดรูปแบบการย่อตามหนงั สือเล่มนี้ ตัวอย่างเช่นชอ่ื ย่อของ Linnaeus ให้ย่อว่า L. ไม่ใช่ Linn. ซงึ่ อาจจะ
สับสนกบั ชอ่ื ย่อ Linn (ไม่มจี ุดตามหลงั ) ของ Manson Bruce Linn นักพฤกษศาสตร์ทท่ี �ำการวจิ ัยเกย่ี วกับเห็ดรา
(Mycology) ท�ำนองเดยี วกนั ช่อื ย่อของลูกชายลนิ เนยี สให้ย่อว่า L. f. ไม่ใช่ Linn. f.

ช่อื author มีความส�ำคญั เพราะจะสามารถช้ใี ห้เหน็ ความเป็นมาหรือประวัตขิ องชื่อได้ ทพ่ี บบ่อยคอื ชื่อใน
วงเลบ็ ชื่อท่เี ชื่อมด้วย ex, et หรอื & ตวั อย่างเช่น

Nuttall ต้ังช่อื Gossypium tomentosum แต่ไม่ได้ตพี มิ พ์ให้ถกู ต้องตามกฎ ภายหลงั Seemann ได้มาท�ำการ
ตีพมิ พ์ให้ถูกต้อง ช่อื พฤกษศาสตร์อาจเขยี นได้เป็น Gossypium tomentosum Nutt. ex Seem. หรือ Gossypium
tomentosum Seem. โดยไม่อ้าง Nutt. กไ็ ด้ แต่โดยทั่วไปแล้วมกั จะอ้างเพอ่ื เปน็ การให้เกียรตผิ ู้ทีต่ ง้ั ช่อื ไว้ก่อน

เมอ่ื คนสองคนร่วมกนั ตง้ั ชื่อ ให้เชือ่ มด้วย et หรือเคร่อื งหมาย & เช่น สิงโตอาจารย์เตม็ พบท่ีเขาหลวง
นครศรธี รรมราช จะใช้ชอ่ื พฤกษศาสตร์ว่า Bulbophyllum smitinandii Seidenf. et Thorat หรอื Bulbophyllum
smitinandii Seidenf. & Thorat กไ็ ด้ ถ้ามากกว่าสองคนร่วมกนั ตง้ั ชื่อ ให้อ้างชอ่ื ทกุ คนในการตพี มิ พ์ครั้งแรก ภายหลัง
เม่อื มีการอ้างถงึ อาจใช้เฉพาะช่อื คนแรกแล้วตามด้วย “et al.” หรอื “& al.” ตวั อย่างเช่น Aporusa glabra
Hesseltine, J. N. Porter, Deduck, Hauck, Bohonos & J. H. William เมอ่ื ตพี มิ พ์ครง้ั แรกให้อ้างทง้ั หมด ภายหลังเมอ่ื
เราน�ำช่ือมาใช้ อาจอ้างได้เป็น Aporusa glabra Hesseltine et al. หรอื Aporusa glabra Hesseltine & al.

ชอ่ื พฤกษศาสตร์เมอ่ื มีการเปลีย่ นแปลง เช่น ยกระดบั จาก variety หรือ subspecies เป็น species หรือย้าย
จากสกุลหนง่ึ ไปยังอกี สกลุ หนึ่งและยงั คงชอ่ื ค�ำระบชุ นดิ (specific epithet) เดมิ ไว้ ให้ใส่ช่ือ author เดมิ ไว้ในวงเล็บ
แล้วตามด้วยชอ่ื author ทท่ี �ำการย้ายหรอื เปล่ียนแปลงนนั้ ตวั อย่างเช่นเม่อื Medicago polymorpha var. orbicularis
L. ถกู ยกระดับขึน้ ให้เป็น species โดย Allioni ชื่อใหม่ท่ไี ด้จะเขียนเป็น Medicago orbicularis (L.) All. หรอื ถ้าเป็นการ
ย้ายสกลุ เช่น ขเี้ หล็กไทย Cassia siamea Lam. ต้ังโดย Lamarck แต่ Irwin และ Barneby เห็นว่าน่าจะจดั อยู่ในสกุล
Senna ก็ท�ำการย้ายเป็น Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby ชอ่ื เดมิ ก่อนการเปล่ียนแปลงเรยี กว่า basionym ใน
ที่น้ีคือ Medicago polymorpha var. orbicularis L. และ Cassia siamea Lam. ตามล�ำดบั

การอา่ นช่อื พฤกษศาสตร์ การอ่านช่ือพฤกษศาสตร์มักเป็นปัญหาเสมอส�ำหรับผู้ท่ตี ้องใช้ช่อื เปน็ ประจ�ำ

เช่นเจ้าหน้าท่ปี ่าไม้ หรอื นสิ ิต นกั ศึกษาในสาขาชวี วิทยา ทัง้ นีเ้ น่อื งจากไม่มคี วามมนั่ ใจว่าควรจะออกเสยี งชือ่ นนั้ ๆ
อย่างไร การอ่านชอื่ พฤกษศาสตร์ไม่มขี ้อบังคบั ทแ่ี น่นอนในการออกเสียง แต่ละชาตแิ ต่ละสถาบัน หรือแม้แต่
นักพฤกษศาสตร์ในสถาบนั เดยี วกันก็มกี ารออกเสยี งไม่เหมอื นกัน ถ้ามคี วามรู้เก่ยี วกบั ชือ่ นนั้ ๆ อยู่บ้าง หรอื รู้ภาษา
ละตินพอสมควร ก็จะช่วยเพ่มิ ความม่ันใจในการอ่านออกเสยี งมากยง่ิ ขนึ้ อย่างไรก็ตามพอจะแบ่งการอ่านได้เปน็
2 แบบ คือ English Method กบั Continental Method (หรอื Academic Method, Latin Method) การอ่านแบบแรกจะ
นยิ มในประเทศท่พี ดู ภาษาองั กฤษ การอ่านแบบทส่ี องนิยมในยุโรปผนื แผ่นดินใหญ่ (ไม่รวมเกาะองั กฤษและ
ไอร์แลนด์) ข้อแตกต่างส่วนใหญ่จะอยู่ทก่ี ารออกเสยี งตวั ท้ายของ generic name และ specific epithet ตัวอย่างเช่น

(English Method) (Continental Method)

ระฟ้าปู Psilotum nudum ไซโลตมั นดู มั ซิโลตมุ นูดุม

ก่อหมี Lithocarpus auriculatus ลิโทคาปัส ออรคิ ลู าตสั ลิโทคาปุส ออรคิ ลู าตุส

ขขี้ ม Ligustrum confusum ไลกสั ตรมั คอนฟซู ัม ไลกสั ตรมุ คอนฟูซมุ

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

16 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เจ็ดช้างสาร Lasianthus marginatus ลาซิแอนทัส มาจนิ าตัส ลาซิแอนทสุ มาจนิ าตสุ

มะลิไส้ไก่ Jasminum elongatum จัสไมนัม อีลองกาตมั จัสมีนมุ อลี องกาตุม

เนือ่ งจากไม่มขี ้อบงั คับในการอ่านว่าแบบไหนถกู แบบไหนผดิ ถ้าดคู �ำแนะน�ำหน้า (6)-(8) ใน
หนงั สอื ชอ่ื พรรณไม้แห่งประเทศไทย เตม็ สมิตนิ ันทน์ (ฉบบั แก้ไขเพ่มิ เติม 2544) กจ็ ะช่วยแก้ปญั หาเรอ่ื งการอ่านได้
บ้าง เพื่อความมั่นใจในการอ่านและเพอ่ื เปน็ ตัวอย่าง จะขอยกตัวอย่างการออกเสยี งตามแบบภาษาองั กฤษดังน้ี

ค�ำที่ข้นึ ต้นด้วยตวั cn, ct, gn, kn, mn, pn, ps, pt, tm ให้อ่านออกเสียงเน้นไปท่ีตัวหลงั ตัวอย่าง เช่น

หงอนไก่หน่วย Cnestis palala เนส-ทสิ ปา-ลา-ลา

ผักกะเหรียง Gnetum gnemon นี-ตมั น-ี มอน

- Gnaphalium แนบ-ฟา-เลยี ม

ซ้อ Gmelina arborea เมล-ไล-นา อา-บอ-เรยี

เลือดแรด Knema globularia น-ี มา กโล-บ-ู ลา-เรยี (Kn ออกเสียงเหมอื น kn ใน knife)

- Gentiana pneumonanthe เจน-ท-ิ อา-นา นวิ -โม-แนน-เท

เฒ่าหลังลาย Pseuderanthermum graciliflorum ซ-ู เดอ-แรน-เทอ-มมั กรา-ซิ-ลิ-ฟลอ-รมั

บุกเขา Pseudodracontium kerrii ซู-โด-ดรา-คอน-เตยี ม เคอ-ร-ี ไอ

ฝรั่ง Psidium guajava ไซ-เดยี ม กวา-จา-วา

งูก้านปล้อง Psychotria serpens ไซ-โค-เตรยี เซอ-เพนส

กระบาก Anisoptera costata อน-ี ซอบ-เทอ-รา คอส-ตา-ตา

เครือเขาขม Myriopteron extensum ไม-ริ-โอ-เทอ-รอน เอ๊ก-ซ-เทน-ซมั

กดู เกย๊ี ะ Pteridium aquilinum เทอ-ร-ิ เดยี ม เอ-คว-ิ ไล-นัม

กูดหางค่าง Pteris biaurita เทอ-รสิ ไบ-ออ-ริ-ตา

ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus n เทอ-โร-คาร-ปัส แมค-โคร-คาร-ปัส

ปออีเก้ง Pterocymbium tinctorium เทอ-โร-ซมิ -เบยี ม ทิงค-ทอ-เรยี ม

แก้วตาไว Pterolobium macropterum เทอ-โร-โล-เบยี ม แมค-โคร-เทอ-รัม

กะหนานปลงิ Pterospermum acerifolium เทอ-โร-สเปอร-มมั อา-เซอ-ร-ิ โฟ-เลยี ม

- Tmesipteris ม-ี ซิบ-เทอ-รสิ

การอ่านออกเสยี งสระ บางครง้ั อ่านได้หลายแบบ ตัวอย่างเช่น

ae ออกเสียงเหมอื นเป็นตวั e เช่น laevis ลวี สิ หรอื เลวสิ

17
oe ออกเสยี งเหมือนเปน็ ตัว e หรือ o เช่น Aloe อโล Rhoeas รแี อส dioecious ไดอีเชยี ส
monoecious โมนีเชยี ส Ipomoea ไอโปเมีย Phoenix ฟีนกิ Lagerstroemia ลาเกอร์สโตรเมีย (ตงั้ ให้เป็นเกยี รติแก่
Magnus Lagerstroem ชาว Swedish เพอ่ื นของ Linnaeus) Boea เบยี หรอื โบเอยี Coelogyne ซีโลไกเน หรอื ซีโลจินี

y, j ออกเสยี งเหมอื นเปน็ ตัว i เช่น Berrya เบอร์เรยี หรอื เบอร์รีอา Buddleja บดั เลีย Byttneria บทิ ทเนอเรยี
Cryptocarya ครบิ โตคาเรีย Cyrtandra เซอร์แทนดรา Myrtaceae เมอร์เตซี Microstachys ไมโครสเตคสี Eurya ยูเรีย

eu ออกเสยี งเป็น u เช่น Eucalyptus ยูคาลปิ ตัส Eurycarpus ยรู คิ าร์ปัส

ph ออกเสยี งเป็น f เช่น Phyllanthus ฟิลแลนทสั

ch ออกเสยี งเป็น k เช่น Chloranthus คลอแรนทสั

ค�ำบางค�ำมีเครอื่ งหมายจุดสองจดุ อยู่ด้านบน เปน็ การแสดงให้รู้ว่าต้องออกเสยี งแยกจากพยญั ชนะ
ตัวหน้า เช่น Isoëtes อ่านว่า ไอโซอเี ทส หรอื ไอโซอที สิ

3. การจ�ำแนก (Classification) คือ การจ�ำแนกพรรณพชื ข้นึ เปน็ หมวดหมู่ต่าง ๆ การจ�ำแนกอย่างง่าย ๆ คือ
จัดพชื เป็นพวกไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เถา และไม้ล้มลุก หรือจดั เปน็ จ�ำพวกผักกูด จ�ำพวกไม้สน จ�ำพวกพชื ใบเลี้ยงคู่
ใบเล้ยี งเด่ยี ว เหล่าน้ี พอจะกล่าวได้ง่าย ๆ ว่าการจ�ำแนกคอื การจัดหมวดหมู่พชื ที่มลี ักษณะคล้ายคลงึ กันเข้าไว้ด้วย
กัน ตามหลกั ปฏบิ ัตินัน้ พรรณพชื ท่มี ีลกั ษณะคล้ายกนั หลายประการนัน้ กจ็ ดั ข้นึ เป็นสกุลหนงึ่ (genus) ดงั เช่น กหุ ลาบ
ทกุ ชนิด (species) นนั้ ต่างกก็ �ำหนดให้อยู่ในสกลุ Rosa เปน็ ต้น พืชสกลุ อื่น ๆท่ีมีลกั ษณะละม้ายคล้ายกุหลาบ เช่น
ท้อ สตรอเบอร่ี เชอร่ี กถ็ กู จัดอยู่ในสกลุ อ่นื ๆ แต่พืชเหล่านีถ้ ูกจ�ำแนกให้รวมอยู่ในวงศ์ (family) เดยี วกัน คอื
Rosaceae

หน่วยของการจ�ำแนกทใ่ี ช้กนั เสมอ ๆ กค็ อื

Kingdom

Division

Class

Order

Family

Genus

Species

Variety

การจ�ำแนกพชื (Plant Classification) เปน็ การจัดพืชให้เป็นกลุ่มหรอื หมวดหมู่โดยอาศัยลักษณะความ

คล้ายคลึง (similarities) และความแตกต่าง (differences) ของลักษณะต่าง ๆ ทศ่ี กึ ษา กลุ่มพืชท่ถี ูกจ�ำแนกตามหลัก
อนุกรมวธิ านน้ีเรียก หน่วยอนกุ รมวธิ าน (taxon) ซึ่งมกี ารจดั ระดับเป็นหมวดหมู่ท่มี ีขนาดใหญ่เล็กลดหลั่นกันไปตาม
ล�ำดบั โดยหมวดหมู่ทเ่ี ปน็ หลักส�ำคัญมี 7 ระดบั ได้แก่ Kingdom, Division, Class, Order, Family, Genus, Species

คู่มือจำ�แนกพรรณไม้

18 กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์ุพืช
ทัง้ น้รี ายละเอยี ดในการจ�ำแนกของนกั พฤกษอนกุ รมวธิ านแต่ละคน หรือในแต่ละยุคสมยั อาจแตกต่างกนั ท�ำให้
ระบบของการจดั จ�ำแนก (system of classification) อาจมไี ด้หลายระบบ
การจัดล�ำดับหมวดหมู่ทางพฤกษอนุกรมวิธานมีจุดเร่ิมต้นจากการน�ำเอาพืชซ่ึงมีอยู่ในส่ิงแวดล้อมใกล้ตัว
มาใช้ประโยชน์ เช่นเปน็ อาหาร ยารักษาโรค หรอื บางชนิดเป็นอนั ตราย มพี ษิ กลุ่มบุคคลท่ีได้ศึกษาเกย่ี วกับพชื ก่อน
บุคคลอ่ืนคอื หมอหรอื นักสมุนไพร (Herbalists) ซง่ึ จ�ำเป็นต้องรวบรวมพืชไว้เพอื่ ใช้ศกึ ษา เมือ่ จ�ำนวนชนดิ ของพืชเพิ่ม
มากขึน้ จงึ ต้องพยายามหาวธิ ีทจี่ ะท�ำให้รู้จกั หรอื จดจ�ำพชื ได้ง่ายขน้ึ ดงั นั้นจึงเริ่มมีการจ�ำแนกพชื ออกเปน็ กลุ่ม ตาม
ลกั ษณะบางประการท่เี หมอื นหรอื ใกล้เคยี งกนั และยังท�ำให้เหน็ ความแตกต่างระหว่างกลุ่มท่จี �ำแนกได้อีกด้วย ใน
สมยั โบราณลกั ษณะง่าย ๆ ทีใ่ ช้ในการจ�ำแนกพืชได้แก่ ลกั ษณะวิสัย เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เล้ือย ต่อมาจงึ ใช้ลักษณะ
อ่ืน ๆ เพิม่ เติมประกอบข้นึ มา เช่นลกั ษณะดอก ทงั้ น้เี พ่อื ให้กลุ่มท่ีจดั หรือจ�ำแนกมคี วามสอดคล้องหรอื ใกล้เคียงกบั
ความเปน็ จรงิ ของท่ีเกิดขึน้ ในธรรมชาตมิ ากท่ีสุด ต่อมาเม่อื มวี วิ ฒั นาการมากขน้ึ กม็ ีการตัง้ ชื่อให้แต่ละกลุ่มทแ่ี บ่ง
แยกไว้ ต่างคนต่างท�ำก็เกดิ การซ้�ำซ้อนกนั ต้องมีการประชมุ และตงั้ กฎเกณฑ์ข้นึ มาใช้บังคบั ในเรื่องการตงั้ ชื่อพืช
(Plant Nomenclature)
การจัดล�ำดบั พชื ให้เปน็ หมวดหมู่ตามท่กี ล่าวข้างต้น สามารถแบ่งคร่าว ๆ ได้ 3 ระบบตามแนวความคดิ ท่ี
พฒั นาหรือเปล่ยี นแปลงไปในแต่ละยุคสมยั ได้แก่ Artificial classification, Natural classification และ Phylogenetic
classification
Artificial classification เปน็ การจดั หมวดหมู่โดยดจู ากลกั ษณะทสี่ งั เกตได้ง่าย ๆ เช่นดูลักษณะวิสัยว่า
เปน็ ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรอื ไม้ต้น ดูสีหรือจ�ำนวนของลกั ษณะต่าง ๆ ทเ่ี หมือนกัน จ�ำนวนลกั ษณะทใ่ี ช้อาจมีไม่มาก มกั
ใช้เพียงหนง่ึ ถึงสองลกั ษณะ เช่น การจดั หมวดหมู่แบบ sexual system ของลินเนียส ที่ใช้จ�ำนวนเกสรเพศผู้เปน็
ลักษณะในการจ�ำแนกพชื ดอกจดั ว่าเป็น Artificial classification ระบบการจ�ำแนกตามแนวคดิ แบบนที้ �ำให้มกี ารรวม
กลุ่มพชื ที่มีความแตกต่างกันอย่างมากเอาไว้ด้วยกนั เนอื่ งจากใช้ลกั ษณะทม่ี ีร่วมกนั เพียงลกั ษณะเดยี วหรอื สอง
สามลกั ษณะเท่านนั้
Natural classification เป็นการจัดหมวดหมู่โดยน�ำเอาลักษณะทเี่ หมือนกันหลาย ๆ ลกั ษณะให้มากท่สี ุด
เท่าทจ่ี ะท�ำได้มาใช้ในการจัดกลุ่ม ในอดีตนยิ มใช้เฉพาะลักษณะทางสัณฐานวทิ ยาเท่านนั้ ต่อมาภายหลังจงึ ได้ใช้
ลักษณะอื่น ๆ เข้ามาประกอบ เช่น ลกั ษณะทางกายวภิ าคศาสตร์ของพชื (Plant Anatomy) เอ็มบรโิ อโลยี
(Embryology) เป็นต้น ตวั อย่างระบบการจ�ำแนกทม่ี ชี อื่ เสยี งตามแนวคดิ นี้คอื หนังสอื Genera Plantarum ในศตวรรษ
ท่ี 18 ทเ่ี ขยี นโดย Bentham และ Hooker นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษซง่ึ ท�ำงานอยู่ท่สี วนพฤกษศาสตร์ Kew
Phylogenetic classification เป็นการจัดหมวดหมู่ทพ่ี จิ ารณาและให้ความส�ำคญั เก่ยี วกบั ความสัมพนั ธ์ทางด้าน
ววิ ฒั นาการของหมวดหมู่ทจ่ี ดั ขน้ึ โดยอาศยั แนวความคดิ ทวี่ ่าพืชท่มี ีบรรพบรุ ุษร่วมกนั น่าจะจดั อยู่ในกลุ่มเดยี วกนั
การจ�ำแนกระบบน้ีเป็นการจัดล�ำดับพืชให้เป็นหมวดหมู่สมัยใหม่โดยยึดเอาความสัมพันธ์ทางด้านพันธุกรรมและ
ววิ ฒั นาการของพชื เข้ามาเกีย่ วข้องด้วย ซงึ่ จะต้องอาศยั ความรู้ในสาขาวชิ าต่าง ๆ มาเกีย่ วข้องมากมาย เช่น
สัณฐานวทิ ยาของพชื (Plant Morphology) พันธศุ าสตร์ (Genetics) กายวภิ าคศาสตร์ของพชื (Plant Anatomy)
สรรี วทิ ยาของพชื (Plant Physiology) เซลวทิ ยา (Cytology) เรณูวทิ ยา (Palynology) ววิ ฒั นาการ (Evolution) เอมบริ
โอโลยี (Embryology) ชีวเคมี (Biochemistry) ธรณีวทิ ยา (Geology) นิเวศวิทยา (Ecology) และการศกึ ษาทางด้าน
บรรพพฤกษศาสตร์ (Paleobotany) เปน็ ต้น
ระบบการจ�ำแนกหรอื จัดหมวดหมู่พชื ทคี่ ่อนข้างได้รับความนยิ ม มีการอ้างองิ ถึงเปน็ จ�ำนวนมากในหลายปี

19
ที่ผ่านมาได้แก่ระบบของ Robert F. Thorne (Classification and Geography of Flowering Plants), Athur Cronquist
(The Evolution and Classification of Flowering Plants) และ Armen Takhtajan (Diversity and Classification of
Flowering Plants) สองคนแรกเปน็ นักอนกุ รมวิธานพชื ชาวอเมรกิ ัน ส่วน Takhtajan เป็นชาวรัสเซยี น ระบบของทง้ั
Thorne, Cronquist และ Takhtajan มักถกู กล่าวถึงว่าเป็นการจดั ระบบโดยอาศยั ความเหมอื นหรอื แตกต่างของ
ลักษณะทางสัณฐานวทิ ยาเปน็ หลัก ซง่ึ ไม่สะท้อนถึงความสมั พันธ์ทางววิ ฒั นาการท่แี ท้จรงิ ของไม้ดอก
การจดั หมวดหมู่ทกี่ �ำลังด�ำเนินการอยู่ในปัจจบุ นั นอกจากจะใช้ลักษณะทางสณั ฐานวทิ ยาและศาสตร์ต่าง ๆ
ดังกล่าวข้างต้นมาช่วยแล้ว ยังมีการใช้ศาสตร์ทางด้านชวี วทิ ยาโมเลกุล (Molecular Biology) เข้ามาเก่ียวข้องด้วย
คือใช้ข้อมูล DNA ร่วมกบั ข้อมูลจากศาสตร์ด้านอ่นื ๆ ในการศกึ ษาถึงความสมั พนั ธ์ทางววิ ัฒนาการของพชื ซง่ึ ต้อง
มีการสกัด DNA จากใบพชื ผ่านขนั้ ตอนกระบวนการต่าง ๆ ในห้องปฏิบตั กิ าร แล้วใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ช่วยใน
การศึกษาหารูปแบบของความสมั พันธ์ ผลทไี่ ด้จะอยู่ในรปู แผนภมู ทิ เ่ี รียก phylogenetic tree หรือ cladogram ซง่ึ
ต้องอาศยั ความรู้ความช�ำนาญในการตคี วามหรอื แปลความหมายของรปู แบบความสมั พนั ธ์ท่เี กดิ ขน้ึ บน cladogram
ระบบทก่ี �ำลังมีความก้าวหน้าเป็นอย่างดใี นปัจจุบันคอื ระบบของ APG (Angiosperm Phylogeny Group) ซึง่ เป็นกลุ่ม
ทเี่ กิดจากการรวมตัวของนกั วจิ ัยทมี่ ีความสนใจศกึ ษาอนกุ รมวธิ านของพชื ดอกกลุ่มหนึ่ง โดยได้ตพี ิมพ์เผยแพร่ผล
งานครง้ั แรกในวารสาร Missouri Botanical Garden ฉบับท่ี 85 ปี 1998 เรียกว่า APGI และมีการศกึ ษาข้อมลู เพม่ิ เติม
และตีพิมพ์อีกครง้ั ในวารสาร Botanical Journal of the Linnean Society ฉบบั ท่ี 141 ปี 2003 เรียกว่า APGII ปจั จุบนั
ได้มกี ารปรับปรงุ และตพี มิ พ์เปน็ APGIII โดยตีพมิ พ์ในวารสาร Botanical Journal of the Linnean Society ฉบบั ที่ 161
(2) ปี ในปี 2009 ในระบบของ APG ไม่ได้แบ่งพชื ดอกออกเปน็ พืชใบเล้ยี งเดย่ี วและใบเล้ยี งคู่เหมอื นด่งั ทเ่ี คยเปน็ มา
แต่แบ่งเปน็ 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ พืชใบเล้ียงเดย่ี ว (Monocots) พืชใบเลีย้ งคู่ (Eudicots) และกลุ่มพชื ใบเล้ียงคู่เดิมท่ีถูก
จบั แยกออกมา และไม่ถกู จัดให้เปน็ พชื ใบเล้ยี งเดี่ยวหรอื พชื ใบเลีย้ งคู่ โดยพชื ดอกทว่ั โลกถกู จ�ำแนกออกเป็น 413
families ใน 59 orders (APGIII)
วิวัฒนาการของพชื ทเี่ กดิ ข้ึนตลอดเวลา ท�ำให้พืชท่เี หน็ อยู่ในปัจจบุ ันมลี กั ษณะท่แี สดงถึงความใกล้ชดิ กบั
พืชท่เี ป็นบรรพบรุ ุษน้อยลงเร่อื ย ๆ การน�ำหมวดหมู่พชื มาเรยี งเป็นล�ำดบั ช้ันเพอื่ แสดงความสมั พันธ์ทางววิ ฒั นาการ
จงึ เป็นสงิ่ จ�ำเป็นอย่างยง่ิ
ปัจจุบนั พชื มีเมลด็ ในโลก (seed plants) คาดว่ามีประมาณ 250,000 ชนดิ เฟิร์นและกลุ่มใกล้เคยี งเฟิร์น
(pteridophyte หรือ fern & fern allies) ประมาณ 12,000 ชนดิ ไบรโอไฟต์ (bryophyte) ประมาณ 23,000 ชนิด
สาหร่าย (algae) ประมาณ 17,000 ชนดิ และยงั มีเห็ดราต่าง ๆ อกี มากมาย นักพฤกษศาสตร์ตง้ั แต่อดตี จนถึง
ปัจจบุ ันได้จดั ระบบการจ�ำแนกพชื ไว้หลายระบบ ซ่ึงอาจมที ั้งความแตกต่างหรอื คล้ายคลึงกัน หรอื มขี ้อดีและข้อ
ด้อยในแต่ละระบบท่แี ตกต่างกันไป โดยไม่มรี ะบบใดทจี่ ัดได้ว่าดที ส่ี ุด ปจั จบุ นั นักพฤกษอนกุ รมวธิ านยงั คงท�ำการ
ศกึ ษากนั อยู่อย่างต่อเนอ่ื ง มผี ลงานตีพิมพ์เผยแพร่ความก้าวหน้าของการศกึ ษาอยู่เปน็ ระยะ ซงึ่ นักพฤกษศาสตร์จะ
ต้องติดตามการเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ ให้ทนั แล้วน�ำมาดดั แปลงใช้หรอื ถ่ายทอดให้ผู้ทท่ี �ำงานเกี่ยวข้องทราบถ้า
พิจารณาแล้วเห็นว่ามคี วามเหมาะสม

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

20 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธุ์พืช

CLASSIFICATION OF ORDERS AND FAMILIES OF FLOWERING PLANTS APGIII

Cladogram แสดงการจำ� แนกพชื ดอกในระดบั orders และ families ของ APG (Angiosperm Phylogeny
Group) ตพี ิมพล์ งในวารสาร Botanical Journal of the Linnean Society ฉบับท่ี 161 (2) ปี ในปี 2009
4. การบรรยายลกั ษณะ (description) พืชแต่ละชนดิ ก็มรี ปู พรรณสัณฐานลักษณะต่าง ๆ แตกต่างกันไป
เมื่อวิเคราะห์ (identify) พืชชนิดใดชนดิ หนง่ึ ได้อย่างถกู ต้อง ต่อไปจ�ำเปน็ จะต้องบรรยายลักษณะต่าง ๆ ของพืชขนิด
น้ัน เช่น ลกั ษณะล�ำต้น เรอื นยอด เปลือก ใบ ดอก ผล เมล็ด ฯลฯ เปน็ ต้น ท้งั น้ีเพ่อื ความกระจ่างในการถ่ายทอด
ข้อมูลตามหลักอนกุ รมวธิ านพชื นอกจาก description ของ species แล้ว กม็ ี description ของสกลุ (genus) และวงศ์
(family) อน่ื ๆ อกี
5. ความสมั พนั ธ์ (relationships) ของพืช ช่วยให้เราจ�ำแนกช่ือพรรณไม้ได้อย่างถกู ต้อง หรือใกล้เคียงมาก
ที่สุด พชื ในสกลุ (genus) เดยี วกนั จะมีความละม้ายคล้ายคลึงกันมากกว่าพืชในสกุลอ่ืน ๆ หรอื พืชวงศ์ (family) อืน่ ๆ

21
อย่างไรก็ตามนกั พฤกษศาสตร์จ�ำต้องใส่ใจอยู่เสมอว่า พชื ทม่ี ีลักษณะละม้ายคล้ายคลงึ กัน ไม่จ�ำเป็นจะต้องมคี วาม
สมั พนั ธ์อย่างใกล้ชดิ (สายพันธ์ุเดยี วกัน) เสมอไป เช่น พืชสกุล Euphorbia จ�ำพวกสลัดได ของวงศ์ Euphorbiaceae
ล�ำต้นและลกั ษณะภายนอกดอู ย่างผวิ เผินคล้ายคลงึ กบั วงศ์ Cactaceae (กะบองเพชร) เป็นอันมาก แต่ตามหลกั
ความสมั พนั ธ์ทางชาตวิ งศ์ (Phylogeny) แล้วพชื ท้งั สองสกลุ น้มี คี วามสมั พนั ธ์กันน้อยมาก กล่าวได้ว่ามวี วิ ฒั นาการ
คนละสายพันธุ์ แต่ความละม้ายคล้ายคลงึ ทเี่ กดิ ข้นึ ได้นนั้ เนื่องมาจากพชื ท้ังสองกลุ่มนี้ ต่างปรับตัวให้เข้ากบั สภาพ
ภูมอิ ากาศแห้งแล้งน่นั เอง เมื่อความรู้เรื่องพรรณพฤกษชาตขิ องโลกมีเพิ่มมากขึ้น นกั อนุกรมวธิ านพชื กส็ ามารถรู้
ถงึ ความสัมพันธ์ซ่งึ กันและกนั ของพรรณพชื ต่าง ๆ และได้อาศัยความรู้น้กี �ำหนดวธิ ีการจ�ำแนกพรรณพชื ให้ดียง่ิ ขึ้น
อีกทั้งการสบื สาวและหาพชื ชนิดใหม่ ๆ ท่ีมคี วามสัมพันธ์ใกล้เคยี งกับชนิดพืชทท่ี �ำการศึกษาวจิ ัยอยู่เดิม อนั อาจจะ
น�ำไปสู่การปรับปรุงพันธ์ุใหม่ หรอื พบพันธุ์ใหม่ท่อี าจเปน็ ทรัพยากรพชื ท่ีมีค่าของประเทศต่อไป

ความส�ำคัญ

อนกุ รมวธิ านพชื จึงมีบทบาทส�ำคญั อยู่มาก แต่มักจะถกู ละเลย จุดประสงค์เบื้องแรกของอนกุ รมธานพชื ไม่
ใช่เพยี งให้คนได้แต่จะรู้จกั ชนดิ พรรณพชื เท่านั้น ยงั ได้รู้ซง้ึ ไปถงึ คุณสมบัติต่าง ๆ ของพืชอีกด้วย การศกึ ษาด้าน
อนุกรมธานพชื (Plant taxonomy) จึงเปน็ รากฐานส�ำคัญของการศกึ ษาความหลากลายของทรพั ยากรธรรมชาตขิ อง
ทใ่ี ดทห่ี นงึ่ เพื่อประเมนิ ค่าของวตั ถดุ บิ ต่าง ๆ ในกิจกรรมทงั้ หลาย เช่น วนกรรม เภสชั กรรม เกษตรกรรม ตลอดจน
อุตสาหกรรม วิชาอนกุ รมวธิ านพชื สอนให้เราทราบเรอ่ื งความผิดแปลกแตกต่างของพชื ตามธรรมชาตแิ ละความ
สัมพนั ธ์ซง่ึ กันและกัน ความรู้เหล่านี้มปี ระโยชน์ต่อการศกึ ษาศาสตร์ด้านอนื่ ๆ เช่น ด้านพันธ์ุศาสตร์ (genetics) และ
ววิ ฒั นาการ (evolution) เปน็ ต้น นกั พฤกษศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น สาขาสรรี วทิ ยา นเิ วศวทิ ยา กายภาควทิ ยา
เซลวิทยา ฯลฯ ต่างกไ็ ด้อาศัยความรู้ด้านอนกุ รมวธิ านพชื ช่วยวเิ คราะห์หาชอ่ื พรรณพชื ซง่ึ ตนด�ำเนนิ การศกึ ษาอยู่
ปัจจบุ นั ยงั มพี ืชอกี หลายร้อยหลายพนั ชนดิ ในอาณาจักรพชื ทม่ี นษุ ย์ยังไม่รู้จกั และหาทางน�ำมาใช้ประโยชน์ ปัญหา
ใหญ่และหน้าท่หี ลักของนักอนุกรมธานพชื ก็คือพยายามรบี เร่งศกึ ษา ค้นคว้า วิจัยพชื ชนดิ ต่าง ๆ ในโลก เพอ่ื ให้ได้
ข้อมูลเบอื้ งต้นทางพฤกษศาสตร์ไว้ก่อนให้ได้มากท่สี ดุ ก่อนท่พี ชื บางชนิดจะสญู พนั ธ์ุไป

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

22 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์ุพืช 2

การเก็บตวั อยา่ งพรรณไม้

วตั ถุประสงค์

การทจี่ ะท�ำความรู้จักกับพรรณไม้ต่าง ๆ นนั้ กต็ ้องอาศยั การส�ำรวจพรรณไม้เปน็ หลกั ใหญ่ แม้ว่าจะได้มี
การส�ำรวจพรรณไม้กนั มาในประเทศเป็นเวลากว่า 100 ปีแล้วกต็ าม แต่ก็ยังไม่ส้นิ สุด เพราะพน้ื ท่ีป่าของประเทศไทย
มีอยู่กว้างขวางประกอบขน้ึ ด้วยพรรณไม้มากมายหลายชนดิ คาดกันว่าเฉพาะพชื ดอกประเภทเดยี ว กม็ ีไม่น้อยกว่า
10,000 ชนิดแล้ว ถ้าต้องการจะทราบจ�ำนวนชนดิ ของพรรณไม้ในท้องท่ตี ่าง ๆ ก็จะต้องท�ำการส�ำรวจพร้อมทง้ั เกบ็
ตัวอย่างพรรณไม้ แล้วน�ำมาวเิ คราะห์หาชื่อ

งานส�ำรวจพรรณไม้นนั้ นบั ได้ว่าเปน็ งานท่ตี ้องใช้เวลา ท้องทหี่ น่ึง ๆที่ต้องท�ำการส�ำรวจใช่ว่าจะเข้าไปครงั้
เดียวแล้วได้พรรณไม้ครบทุกชนดิ พรรณไม้ท่จี ะเก็บมาวิเคราะห์ จะต้องมกี งิ่ ทม่ี ที ้ังใบ ดอก หรือผลตดิ อยู่ ดงั น้นั
การเข้าไปแต่ละครงั้ พรรณไม้บางชนดิ อาจไม่ตดิ ดอกหรอื ตดิ ผล ต้องเฝ้าตดิ ตามคอยฤดูกาลท่ีออกดอกตดิ ผล
การส�ำรวจพรรณไม้จงึ ต้องหมน่ั ส�ำรวจ จงึ จะได้พรรณไม้จ�ำนวนมากชนดิ เท่าทีจ่ ะมากได้

ดงั นน้ั วตั ถุประสงค์ของการเก็บตัวอย่างพรรณไม้ คอื

1. เพอื่ น�ำมาวเิ คราะห์หาช่ือทีแ่ น่นอน เพอ่ื ให้ทราบจ�ำนวนชนดิ ของพชื ในท้องท่ตี ่าง ๆทท่ี �ำการส�ำรวจ

2. เพอื่ เกบ็ ตวั อยา่ งไวเ้ ปน็ หลกั ฐานอา้ งองิ ไวเ้ ทยี บเคยี งในการตรวจวเิ คราะหห์ าชอ่ื พรรณไมใ้ นครง้ั ตอ่ ไป

3. เพอื่ เปน็ การทราบถงึ จ�ำนวนประชากร ถนิ่ ก�ำเนดิ และเขตการกระจายพนั ธ์ุ ของพรรณไม้ต่าง ๆ ด้วย

4. เปน็ การรวบรวมจ�ำนวนพรรณพฤกษชาตขิ องประเทศไทย ว่ามจี �ำนวนทง้ั ส้นิ ก่ีชนดิ

อุปกรณ์

ในการส�ำรวจและเก็บตัวอย่างพรรณไม้ มอี ุปกรณ์ท่จี �ำเปน็ ต้องใช้ดังน้ี

1. แผงอัดพรรณไม้ พร้อมด้วยเชอื กรัด แผงนีอ้ าจท�ำง่าย ๆ ด้วยไม้ไผ่ โดยผ่าเปน็ ซีกแล้วสานแบบขดั แตะ
หรอื อาจท�ำด้วยไม้อน่ื หรอื ท�ำด้วยลวดเหลก็ อืน่ ๆ กไ็ ด้ เพอื่ อัดพรรณไม้ให้เรียบอยู่ตวั ไม่หงกิ งอเม่อื แห้ง แผงน้มี ี
ขนาดประมาณ 12 นว้ิ x 18 น้วิ หน่งึ คู่ ประกอบเปน็ 1 แผง (ภาพที่ 5) ในการเกบ็ พรรณไม้ตามท้องท่ี เพือ่ เปน็ การ
ประหยดั และทุ่นแรงงาน ควรใช้ไม้ไผ่ เพราะหาได้ง่ายมอี ยู่ทัว่ ไปประกอบกับน้�ำหนักเบา แม้จะไม่เป็นการถาวร แต่
ก็ได้ประโยชน์ดเี ช่นเดียวกับแผงท่ที �ำด้วยลวดเหลก็

2. กระดาษอดั พรรณไม้ ใช้กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ในการประกอบอัดพรรณไม้ในแผง เพอ่ื กระดาษจะได้ดูด
ซมึ ความช้นื จากพรรณไม้

3. กรรไกรตัดกิ่ง ใช้ตดั กิง่ ไม้และตกแต่งกิ่งเมื่ออดั ในการเก็บพรรณไม้ควรมีมดี คม ๆติดไปด้วย ขณะท่เี กบ็
พรรณไม้จากต้นแล้ว นอกจากนี้พล่วั มอื บางครง้ั จ�ำเปน็ ส�ำหรบั การขุดพรรณไม้ทีต่ ้องการท้งั รากหรือหัวใต้ดินด้วย

4. ถงุ พลาสติกส�ำหรบั ใส่พรรณไม้เมอ่ื เกบ็ จากต้นแล้วขณะเดนิ ป่า จะป้องกันพรรณไม้เห่ยี วแห้งก่อนอัดใน

แผงได้อย่างดี 23

5. ดนิ สอด�ำอย่างดี ในการบันทึกข้อความควรใช้ดนิ สอด�ำดีกว่าปากกา เพราะเวลาฝนตกเปียกน�้ำจะไม่
เปรอะเปือ้ นหรอื จางไป

6. สมดุ บนั ทกึ อาจท�ำสมดุ พเิ ศษทอ่ี อกแบบส�ำหรบั การเกบ็ พรรณไมโ้ ดยเฉพาะ (ภาพที่ 1)

Locality

Altitude Date

Local name

Notes

Collector No.

ภาพที่ 1 สมุดบันทึกทอ่ี อกแบบส�ำหรับการเกบ็ พรรณไม้

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

24 กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์ุพืช
รายละเอียดในการบนั ทกึ มดี ังน้ี

1. ท้องที่ทเ่ี กบ็ (locality) โดยระบุจงั หวัด อ�ำเภอ ต�ำบล ท้องทป่ี ่า ฯลฯ

2. ความสงู จากระดบั น้�ำทะเล (altitude) ใช้เคร่ืองวดั ความสงู จากระดบั น�้ำทะเลวดั ขณะที่เกบ็ พรรณไม้
จากระดับนัน้ ๆ

3. วันท่ี (date) หมายถงึ วันทที่ เี่ กบ็ พรรณไม้นน้ั จะท�ำให้ทราบถึงฤดูกาลการออกดอกออกผลของ
พรรณไม้น้ัน ๆ ด้วย

4. ชอื่ พนื้ เมอื ง (local name หรอื vernacular) คอื ชอื่ ท่เี รยี กพรรณไม้นนั้ ในท้องท่ีน้ัน ๆ ควรสอบถามชื่อจาก
ชาวบ้านแถบนน้ั

5. บันทึก (notes) ควรบนั ทกึ ดังต่อไปน้ี

5.1 ชนิดป่า เช่น ป่าดบิ ป่าผลัดใบ ป่าชายเลน ฯลฯ ขน้ึ ตามสนั เขาหบุ เขา รมิ ห้วย

5.2 จ�ำนวนประชากรพชื ว่ามีมากน้อยเพยี งใด

5.3 ลักษณะของพรรณไม้ ตง้ั แต่ลักษณะของล�ำต้น ใบ ดอก ผล โดยมรี ายละเอยี ดด้งั น้ี คือ

- วิสัยพชื เป็นไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เล้ือย หรือไม้ล้มลุก บอกส่วนสูงโดยประมาณ ถ้าเปน็ ไม้ต้นบอก
ขนาดโตวัดรอบต้นสงู จากดนิ 1.30 ม. ไว้ด้วย

- ล�ำต้น ตรง คด มพี ูพอน รากค้�ำจนุ ฯลฯ

- เปลอื ก บันทกึ เป็นสองลักษณะ

1. เปลอื กชัน้ นอกสีอะไร เรยี บ ขรขุ ระ แตกเปน็ ร่อง หรอื ล่อนเปน็ สะเกด็ ฯลฯ

2. เปลอื กชนั้ ในเม่ือสับดสู อี ะไร มกี ลน่ิ อย่างไร มนี ำ้� ยางหรอื ไม่ ถ้ามสี อี ะไร ข้น หรอื ใส

- ใบ ตามปกตลิ กั ษณะของใบย่อมบ่งชดั อยู่ในตัวเองแล้ว ข้อทค่ี วรบันทึกกค็ อื สขี องใบอ่อนและ
ใบแก่ที่จวนจะร่วง หรอื หากมขี ้อสังเกตอ่ืนท่เี มื่อใบแห้งแล้วจะมองไม่เหน็ กใ็ ห้บนั ทกึ ไว้ด้วย

- ดอก สีของดอก กล่ิน ดอกไม้บางชนดิ ไม่มีกล่นิ แต่อาจมแี มลงตอมอยู่ ก็ควรบันทกึ ไว้ด้วย

- ผล ส่วนมากผลไม้เมอ่ื อ่อนสเี ขียว หากเป็นสีอน่ื กค็ วรบันทกึ ไว้ด้วย แต่เม่ือแก่หรอื สุกจะมสี ี
ต่างจากสีของผลอ่อน ต้องบนั ทกึ ไว้ นอกจากนก้ี ็มีกล่ินและรส รับประทานได้หรอื ไม่ หรอื เป็นพิษ

- ประโยชน์ หากทราบว่ามีการใช้ประโยชน์จากส่วนใดส่วนหน่ึงของพรรณไม้น้ี ควรบันทึกไว้ด้วย

6. ชอ่ื ผู้เกบ็ และหมายเลข (Collector No.) ให้ลงชือ่ ผู้เก็บและหมายเลขเรยี งตามล�ำดับไว้ ผู้เกบ็ แต่ละคนใช้
หมายเลขของตนตดิ ต่อกันไปไม่ว่าจะเดนิ ทางไปเกบ็ ในท้องทใ่ี ด เช่น สมศรี เจริญชัย 1 หรือ S. Charoenchai 1
เป็นต้น

วิธเี ก็บตวั อย่างพรรณไม้ 25

การตรวจหาช่อื พรรณไม้ (Identification) นัน้ ต้องอาศัยลกั ษณะต่าง ๆ ของใบ ดอก และผล เปน็ หลกั
ส�ำคญั ส่วนมากตรวจจากส่วนประกอบต่าง ๆ ของดอก คือ จ�ำนวนลักษณะ ขนาดของเกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย
รงั ไข่ กลีบดอก และกลบี เลีย้ ง และลักษณะขนาดของผล พืชบางชนิดมลี ักษณะเด่นชดั สามารถตรวจหาช่อื ได้
(identify) เพยี งแต่เหน็ ใบ บางชนิดต้องตรวจถงึ ดอกด้วย แต่บางชนิดตรวจจากใบและดอกเท่านนั้ ยงั ไม่พอ ต้อง
อาศัยลักษณะของผลช่วยด้วยจงึ จะหาชอ่ื ได้ ดังน้ันในการเกบ็ ตัวอย่างพรรณไม้ จงึ ต้องพยายามเกบ็ ให้ได้ตวั อย่างท่ี
สมบรู ณ์ คือ มีครบทัง้ ใบ ดอก และผล เพอื่ สะดวกในการตรวจหาชอื่ วธิ เี กบ็ ตวั อยา่ งพรรณไมน้ นั้ แลว้ แตป่ ระเภทของ
พรรณไม้

ประเภทไม้ต้น ไม้พ่มุ หรอื ไมล้ ้มลกุ บางชนิด เกบ็ แต่เฉพาะก่งิ ทม่ี ีดอก หรือผลทต่ี ิดกบั ใบ

ขนาดยาวประมาณ 1 ฟตุ (ภาพท่ี 3A) หากช่อดอกหรอื ใบมลี กั ษณะยาวเกนิ หน้ากระดาษอดั ก็ควรหกั พับให้พอดี ไม่
ต้องตัดทง้ิ เพราะจะได้ทราบขนาดทแ่ี ท้จริง ควรเกบ็ ใบ ดอก ผล และเนอ้ื ไม้จากต้นเดยี วกัน ข้อควรสังเกตคอื

1. ใบ เลือกเกบ็ แต่ใบท่สี มบูรณ์ไม่ถกู แมลงหรอื สัตว์กัดท�ำลาย หรอื ใบเป็นโรคหงกิ งอ ไม่ควรเกบ็ ใบทเ่ี กิด
ตามหน่อหรอื แตกจากตอ หรือกง่ิ ที่ถกู ตัดไป เพราะมกั จะมีขนาดสดั ส่วนผดิ ไปจากปกติ ควรเปน็ ใบท่แี ก่จดั และเก็บ
มาทงั้ ช่อ ไม่ใช่เดด็ มาเป็นใบ ๆ ถ้าเปน็ ใบประกอบ เช่น ใบของเงาะ ล�ำใย ตาเสอื หรอื ยมหิน ฯลฯ ก็ต้องเก็บตลอด
ความยาวของกง่ิ ใบใหญ่ พร้อมทงั้ ใบย่อยครบทุกใบ (ภาพท่ี 2)

2. ดอก เก็บเปน็ ช่อ ควรเกบ็ ให้ได้ทงั้ ดอกตูมและดอกบานเต็มท่แี ล้ว แต่ไม่ใช่ดอกท่รี ่วงหล่นจากต้น และ
เกบ็ ช่อดอกทตี่ ดิ กบั ใบด้วย

3. ผล เกบ็ ให้ตดิ กบั ใบเช่นกัน ควรเก็บให้ได้ทง้ั ผลอ่อนและผลแก่จดั ซึง่ ติดอยู่บนต้น ไม่ควรเกบ็ ผลทห่ี ล่น
อยู่ใต้ต้น ถ้าผลเป็นผลแห้งขนาดใหญ่ เช่น ผลกะเบา นุ่น ช้างแหก สะบ้า หรือผลสด เช่น มะม่วง ตังหน กใ็ ห้ตากแห้ง
แล้วตดิ ป้ายหมายเลขให้ตรงกับหมายเลขของตวั อย่างใบและดองไว้ ผลสดน้อี าจตากแห้งโดยผ่านผ่าคร่งึ ตามยาว
เพอื่ รักษารปู ทรงของผลนนั้ ไว้ หรอื อาจใช้ดองในขวดท่ใี ส่แอลกอฮอล์ 70 % และตดิ ป้ายทีข่ วดไว้เช่นกนั

ประเภทไม้ล้มลกุ ต้นเลก็ ๆ เช่น หญ้า หรือพวกพชื ชัน้ ต่�ำอ่นื ๆ เช่น มอสส์ เฟิร์นต้นเล็ก ๆ ให้เกบ็ ทัง้ ต้นทัง้
รากถ้ามี (ภาพท่ี 3B)

พรรณไม้ชนดิ หนง่ึ นัน้ ให้เกบ็ ตวั อย่างประมาณ 8-3 ชนิ้ แล้วแต่กรณี เก็บใส่ถุงพลาสตกิ เมื่อเวลาเดนิ
ส�ำรวจ และน�ำออกมาอดั ในแผงอดั พรรณไม้ ถ้าเป็นไปได้ควรรบี อัด เพอ่ื พรรณไม้จะคงความเขยี ว และจัดแต่งง่าย
ใบจะเรยี บ แต่ถ้าไม่มเี วลากน็ �ำมาอัดเมอ่ื กลบั ถงึ ที่พกั ในตอนเยน็ ก็ได้

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

26 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช
ภาพที่ 2 การตดั ก่งิ ต้องตัดให้ก้านใบตดิ กับส่วนของล�ำต้น A. ใบเดี่ยว (simple leaf), B. ใบประกอบแบบขนนก
(pinnate leaf); C. ใบประกอบแบบน้วิ มอื (palmate leaf)

27

ภาพท่ี 3 A. เกบ็ ตวั อย่างทสี่ มบรู ณ์มที ง้ั ใบ ดอก หรอื ผล; B. เก็บตวั อย่างพชื ล้มลกุ เช่น หญ้า มอสส์ และพืชขนาดเล็ก

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

28 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์ุพืช

วิธอี ดั แหง้ พรรณไม้

เมอ่ื ได้เกบ็ พรรณไม้โดยตดั กง่ิ จากต้นทต่ี ้องการแล้ว ก็เขียนช่อื ผู้เก็บพร้อมหมายเลขลงบนป้ายตดิ ไว้กับ
พรรณไม้ และบันทกึ ข้อความต่าง ๆ ลงในสมดุ บันทกึ ในการอดั จะจัดเรยี งตัวอย่างพรรณไม้วางลงในหน้ากระดาษ
หนงั สือพมิ พ์ซง่ึ พบั เปน็ คู่ ๆ จดั ให้ขนาดพอดี อย่าให้เกนิ หน้ากระดาษและแผงอัด ถ้าใหญ่เกนิ แผงให้หักพับบ้าง เรยี ง
ให้ใบคว่ำ� บ้างหงายบ้าง (ภาพที่ 4) เพอ่ื จะได้เห็นลักษณะของใบทงั้ สองด้านขณะแห้งแล้ว แล้วพลกิ กระดาษแผ่นที่
เปน็ คู่นัน้ ปิดทบั ลงไป ระหว่างพรรณไม้ชนดิ หนงึ่ ๆ นนั้ ให้สอดกระดาษลกู ฟูกขน้ั ไว้เพอ่ื ช่วยให้ความชนื้ ระเหยออกไป
ได้เร็ว เสรจ็ แลว้ กอ่ นผดิ แผง ใชก้ ระดาษลกู ฟกู ปดิ ทบั ทง้ั สองดา้ นและผกู มดั ไวใ้ หแ้ นน่ เพอื่ เวลาแหง้ พรรณไม้จะได้เรียบ
แผงหนึง่ ๆ อดั พรรณไม้ได้หลายตวั อย่าง (ภาพท่ี 5)
น�ำแผงท่ีอดั แล้วน้ตี ากแดด โดยให้วางตงั้ แผงขน้ึ ทางใดทางหน่ึง อย่าวางนอนตามด้านราบ ทัง้ น้เี พ่ือให้
ความชน้ื ในพรรณไม้ได้ระเหยได้ง่าย การตากแดดพรรณไม้มกั จะแห้งช้า ฉนั้นต้องหมนั่ เปิดออกตรวจ เพราะบางที
อาจมแี มลงกัดกนิ ดอกใบอยู่ กเ็ ก็บออกเสยี และเปลย่ี นกระดาษใหม่ เอากระดาษที่ชื้นออก เพ่อื ช่วยให้แห้งเรว็ ข้นึ
การตากแดดนห้ี ากมีแดดและเอาใจใส่ดปี ระมาณ 3 วัน พรรณไม้กจ็ ะแห้ง และมสี ีสดเกือบเหมอื นธรรมชาติ
ถ้าในท้องทใ่ี ดไม่มีแสงแดด เช่น ไปต้ังทพ่ี ักในป่าดิบ หรอื ในฤดูฝน การท�ำให้พรรณไม้แห้งต้องอาศัยความ
ร้อนจากไฟช่วย ต้องท�ำร้านย่างสูงจากดนิ ประมาณ 1 เมตร การต้ังแผงก็ท�ำเช่นเดยี วกนั กับการตากแดด การใช้ไฟ
ย่างต้องเอาใจใส่ดแู ลอยู่เสมอ เพราะไฟอาจไหม้ตดิ กระดาษหรอื แผงพรรณไม้ไหม้เกรียมเสยี หมด ต้องคอยหม่นั
กลบั แผง และใช้ไฟให้พอเหมาะอย่าแรงเกินไป เม่ือแห้งสนิทแล้วก็เลิกย่างได้ ถ้าไปในทม่ี ไี ฟฟ้าเข้าถงึ สมควรจะเอา
เตาอบพรรณไม้ชนดิ เคล่ือนทตี่ ดิ ไปด้วย ใช้หลอดไฟเป็นอปุ กรณ์ท�ำความร้อน ตามวธิ นี ้ีพรรณไม้จะแห้งเร็วมาก
เปน็ การทุ่นเวลาและแรงงานมาก ตัวอย่างพรรณไม้เมอ่ื ท�ำให้แห้งได้ที่ดีแล้ว กเ็ ก็บรวบรวมเข้ากล่องท่พี ร้อมจะ
ด�ำเนินการตรวจหาช่อื ต่อไป

วธิ อี าบน้ำ� ยาพรรณไม้

พรรณไม้ทอ่ี บหรือผ่ึงแห้งเสรจ็ แล้วนน้ั ถ้าจะเก็บไว้นาน ๆ เป็นเวลาหลายสบิ ปี ก็จะต้องน�ำพรรณไม้แห้ง
เหล่านนั้ ไปอาบน�้ำยากนั แมลงเสยี ก่อน มิฉะนน้ั แล้วเพยี งเวลาไม่เกนิ 2 ปีแมลงจะกัดท�ำลายเสยี หายหมด น้�ำยาทใี่ ช้
อาบทห่ี อพรรณไม้ กรมป่าไม้ ใช้อยู่ในปัจจุบันมสี ่วนผสมดงั น้ี
1. Mercuric chloride 250 มลิ ลิลิตร
2. Phenol 50 มิลลลิ ิตร
3. Alcohol 90% 10 ลติ ร

วธิ อี าบ

เอาน้ำ� ยาที่ผสมและคนเข้ากันดแี ล้ว ใส่ลงในภาชนะท่ปี ากกว้าง ๆ เช่น กะละมัง หรอื อ่างพลาสตกิ เป็นต้น
เอาปากคบี หนบี พรรณไม้จุ่มลงในน้�ำยา พยายามกดให้เปียกนำ้� ยาทวั่ ถึงกนั แช่ไว้ประมาณครง่ึ นาที แล้วคีบ
พรรณไม้ออกวางบนกระดาษหนงั สอื พิมพ์เดมิ ท่ีวางซ้อนอยู่บนกระดาษลูกฟกู ท�ำเช่นน้ไี ปเร่อื ย ๆ จนหมดพรรณไม้
ที่จะอาบ แล้วแบ่งมัดเป็นแผง ๆ เอาเข้าอบอกี ครั้งหน่ึงจนแห้งสนทิ

29

ภาพท่ี 4 A. การจัดเรยี งตัวอย่างพรรณไม้ลงในกระดาษและแผงอัด 1. เลม็ ใบทงิ้ บางส่วน 2. พับใบ 3. ตัดตัวใบท้งิ แต่
เหลือส่วนโคนไว้ 4. ตัดก่งิ ทงิ้ ; B. พับกิ่งเพอื่ ให้พอดกี ับกระดาษ; C. ตดั ใบทบ่ี งั ดอกหรือผลออก

คู่มือจำ�แนกพรรณไม้

30 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพันธุ์พืช

ภาพท่ี 5 แผงอัดพรรณไม้ทม่ี ดั เรียบร้อยแล้ว
ข้อควรระวังในการอาบนำ้� ยา พยายามอย่าให้ส่วนใดส่วนหน่งึ ของร่างกายถกู น�้ำยาเป็นอันขาด เวลาอาบ
น�ำ้ ยาควรใส่ถุงมอื ยาง และมผี ้ากรองอากาศหรือหน้ากากสวมป้องกันพษิ ในขณะอาบนำ�้ ยาพรรณไม้ดอกเล็ก ๆ
มกั จะร่วงหล่น จะต้องใช้ปากคบี ใส่ซองกระดาษแล้วสอดไว้กบั พรรณไม้ชนดิ น้ันให้หมด ส�ำหรบั พรรณไม้แห้งท่จี ะ
น�ำเข้าเก็บในพพิ ธิ ภณั ฑ์พรรณไม้ จ�ำเปน็ ต้องท�ำการเกบ็ หรอื ประกอบพรรณไม้ตดิ กับกระดาษ

วิธเี ยบ็ พรรณไม้

พรรณไม้ท่อี าบน้�ำยาและอบแห้งดแี ล้ว ถ้าต้องการเกบ็ ไว้เป็นตวั อย่างอ้างองิ จะเก็บด้วยการหุ้มกระดาษ
อ่อนนัน้ ย่อมจะไม่สะดวกแก่การน�ำเข้าๆ ออก ๆ ในการตรวจดูภายหลงั เพราะพรรณไม้ย่งิ เก็บไว้นานก็จะย่งิ เปราะ
หักง่าย ฉะนัน้ ก่อนเก็บกต็ ้องน�ำพรรณไม้มาประกอบตดิ กับกระดาษแข็ง ให้มีความหนาประมาณ 300 แกรม ขนาด
27 x 42 ซม. เสียก่อนชน้ิ พรรณไม้ทีจ่ ะเอามาประกอบตดิ กับกระดาษแขง็ จะต้องเลอื กเอาชิ้นที่สมบูรณ์ท่สี ดุ ให้มี
พร้อมทง้ั ใบ ดอกหรือผล แล้ววางลงบนกระดาษแขง็ เอาด้ายเย็บพรรณไม้ให้ตดิ กับกระดาษอกี ทีหนง่ึ ถ้าไม่ใช้ด้าย
อาจใช้กาวทาติดกบั กระดาษ หรือใช้กระดาษชิ้นเลก็ ๆ ทากาวตดิ ก็ได้ แต่การทากาวตดิ นม้ี ขี ้อเสียคอื เมอ่ื เก็บไวน้ าน ๆ
จะท�ำใหก้ ระดาษทที่ ากาวยดึ พรรณไมไ้ วก้ บั กระดาษแขง็ ลอ่ นหรอื ฉกี ขาดได้ ท�ำใหพ้ รรณไม้หลุดจากกระดาษแข็ง ส่วน
ดอกหรือผลทร่ี ่วงจะต้องเอาใส่ซองกระดาษตดิ ไว้ท่กี ระดาษแข็งนั้นด้วย ท่ีมุมด้านล่างของกระดาษให้ตดิ ป้ายแสดง
รายละเอยี ดต่าง ๆ ท่จี ดบันทกึ ไว้ในขณะเกบ็ พรรณไม้ไว้ด้วย (ภาพท่ี 6)

31

ภาพที่ 6 เลือกพรรณไม้ชนิ้ ทส่ี มบรู ณ์จดั เรยี งบนกระดาษแข็งแล้วเกบ็ A. ตดิ กระดาษบันทึก B. ดอกหรือผลท่ีร่วง
เอาใส่ซองกระดาษแข็งอกี ทหี น่ึง; C. พชื ขนาดเล็ก น�ำบางช้นิ มาเยบ็ ตดิ ส่วนท่เี หลือเก็บไว้ในซองกระดาษ

คู่มือจำ�แนกพรรณไม้

32 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช 3

โครงสรา้ งภายนอกของพชื

การจ�ำแนกชนดิ พชื ดอก (Amgiosperms) น้นั ใช้ลักษณะโครงสร้างของดอกและผลเป็นหลัก นอกจากนี้
ลกั ษณะต่าง ๆ ทเี่ ด่นชัดของพชื กเ็ ปน็ ลักษณะทส่ี นบั สนุนการจ�ำแนกชนิดได้ ถงึ แม้ลักษณะบางลักษณะเราคดิ ว่าจะ
ไม่ใช่ลักษณะส�ำคัญ แต่ลกั ษณะเหล่าน้กี เ็ ปน็ ลักษณะส�ำคัญของพชื บางวงศ์ เช่น ลกั ษณะพืชทเี่ ปน็ ไม้ต้น ไม้พุ่ม หรอื
ไม้ล้มลกุ พืชในอนั ดับ Amentiferae น้ัน พืชต่างก็เปน็ ไม้ต้นเนอ้ื แข็งแทบทง้ั ส้ิน ดงั นั้นถ้าเรามีตัวอย่างพชื ท่เี ป็นไม้พุ่ม
ละไม้ล้มลุก กส็ รปุ ได้เลยว่าไม่ใช่พืชทอ่ี ยู่ในอันดับ Amentiferae แน่นอน นอกจากน้ลี กั ษณะโครงสร้างภายนอกของ
พชื นยี้ ังได้น�ำมาใช้บรรยบายรูปพรรณสัณฐานของพชื ใช้จ�ำแนกพชื ออกเปน็ กลุ่มต่าง ๆ เช่น วงศ์ (family) สกุล
(genus) ชนิด (species) โดยดูจากลกั ษณะท่คี ล้ายกนั หรอื ลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกัน การเรียนรู้ถงึ ลกั ษณะโครงสร้าง
ภายนอกของพชื จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ในการศกึ ษาด้านอนุกรมวธิ าน

ลกั ษณะโครงสร้างภายนอกของพชื เรยี งตามล�ำดับ มีดังต่อไปน้ี

ล�ำต้น (stem)

ล�ำต้น ประกอบด้วย

ข้อ (node) คือรอยต่อเป็นระยะ ๆ

ปล้อง (internode) คอื ส่วนของล�ำต้นระหว่างข้อ

ล�ำต้นของพชื ดอกจะแตกต่างกันท่ขี นาดอายุ และลกั ษณะทปี่ รากฏให้เห็นเรยี กว่า วิสัยของพืช (plant
habit) ท�ำให้แบ่งพชื ออกได้ดงั น้ี

ไม้ล้มลกุ (herb) มลี �ำต้นอ่อนนุ่ม เนอ่ื งจากประกอบด้วยเน้ือเย่อื ที่เปน็ เนอ้ื ไม้เพียงเล็กน้อย ล�ำต้น
จะตายไปเม่ือหมดฤดเู จรญิ เติบโต แบ่งย่อยเปน็

-พืชปีเดียว (annual) พชื มอี ายุได้ 1 ปี ดดยจะมวี งจรชีวติ ท่ีสมบูรณ์ภายใน 1 ปี หรือ 1 ฤดกู าลแล้ว
ตายไป

- พืชสองปี (biennial) พชื มีอายุได้ 2 ปี ขะออกดอกในปีท่ี 2 โดยมีการเจรญิ เตบิ โตทไ่ี ม่เกยี่ วกับ
การสบื พนั ธ์ุในปีท่หี น่ึง

- พชื หลายปี (perennial) พชื มอี ายไุ ด้หลายปีและมกั จะอกดอกทุกปี

ไม้พุ่ม (shrub) เนอ้ื แข็ง ขนาดเลก็ หรอื ขนาดกลาง มักมหี ลายล�ำต้น แต่ไม่มลี �ำต้นหลัก เช่น ทรง
บาดาล กระถนิ ฯลฯ

ไม้ต้น (tree) เน้อื แขง็ สงู มลี �ำต้นหลักเพยี งหน่ึงเหน็ ได้ชัด เช่น ประดู่ อนิ ทนลิ มะขาม ฯลฯ

ไม้เถา (climber) ล�ำต้นมไี ด้ทง้ั ท่ีเป็นเนือ้ อ่อน (herbaceous) และเนอ้ื แขง็ (woody) ล�ำต้นมักจะเล็ก
เรยี ว เลอื้ ยพันกับไม้อนื่ เพอ่ื พยงุ ล�ำต้น เช่น พวงชมพู รสสุคนธ์ ฯลฯ

33
ล�ำต้นนอกจากเป็นท่ตี ิดของใบและดอกแล้ว ล�ำต้นอาจเปลย่ี นรูปร่างและหน้าที่ไปได้ ซง่ึ มีทั้งล�ำต้นบนดิน
และล�ำต้นใต้ดนิ ดังน้ี คือ

ลำ� ต้นบนดนิ (aerial stem) ล�ำต้นของพชื ส่วนมากจะเจริญอยู่บนดนิ แยกเปน็ ชนดิ ต่าง ๆ คอื

-ไหล (stolon, runner) ล�ำต้นจะทอดราบไปตามพน้ื ดิน มปี ล้องยาว ราก ใบ ดอก เกดิ ทข่ี ้อ เช่น บวั บก
- ล�ำต้นคล้ายใบ (phylloclade) ล�ำต้นทม่ี ลี ักษณะและท�ำหน้าทคี่ ล้ายใบ มสี ีเขยี ว เช่น สลัดได
- มอื พนั (stem tendril) ล�ำต้นเปลีย่ นไปท�ำหน้าทเ่ี กาะหรอื ยดึ กับสิ่งที่อยู่ใกล้เคยี ง เช่น ต�ำลงึ พวงชมพู
ฟกั ทอง องุ่น ฯลฯ

ลำ� ต้นใต้ดนิ (subterranean stem) พชื บางชนิดมลี �ำต้นอยู่ใต้ดิน ท�ำหน้าที่เกบ็ สะสมอาหาร

ส่วนมากมกั มปี ล้องสั้น ๆ แยกเปน็ ชนดิ ต่าง ๆ คอื
-เหง้า (rhizome) ล�ำต้นมักขนานไปกบั พน้ื ดนิ มีปล้องและข้อสั้น ๆ มีใบเกลด็ (scale leaf) คลุมทข่ี ้อ มีตาที่
ข้อ ซง่ึ จะเตบิ โตเปน็ ใบและแทงข้นึ สู่พ้ืนดนิ เช่น ขงิ ข่า ขมิ้น ฯลฯ
- หัวแบบมนั ฝร่งั (tuber) ล�ำต้นสูงใหญ่มตี า (bud) โดยรอบ เช่น มนั ฝรงั่ ฯลฯ
- หัวแบบเผือก (corm) ล�ำต้นอวบอ้วน บริเวณส่วนกลางมักพองโต มีข้อและปล้องสั้น ๆ มใี บ เกลด็ หุ้มท่ี
ข้อ เช่น แห้ว ฯลฯ
- หวั แบบหอม (bulb) ล�ำต้นตรง ตามปล้องมใี บเกล็ดซ้อนกนั หลายชน้ั หุ้มล�ำต้นไว้ บางส่วนอาจพ้นดนิ ข้ึน
มาบ้าง ใบเกล็ดด้านนอกจะบางเพราะไม่มอี าหารสะสมไว้ ส่วนในสดุ เปน็ ล�ำต้นทแ่ี ท้จรงิ มขี ้อและปล้องสนั้ ๆ มีราก
งอกออกมาด้วย เช่น หัวหอม กระเทยี ม พลบั พลงึ เป็นต้น

ราก (root)

ชนิดของ ราก แบ่งออกได้ดงั น้ี คือ
1. รากแก้ว (primary root หรอื tap root) เปน็ รากแรกของพชื ท่ีงอกจากมลด็ และหยั่งลกึ ลงไปในดินทาง
แนวด่งิ ท�ำให้ต้นไม้ยนื ต้นอยู่ได้
2. รากแขนง (secondary root หรือ lateral root) เป็นรากทีแ่ ตกแขนงจากรากแก้ว แผ่ออกไปตามแนวระดบั
รากทีเ่ กิดตามใบหรอื ตามล�ำต้นท�ำหน้าท่ตี ่าง ๆ กนั ได้แก่
3. รากพเิ ศษ (adventitious root) เปน็ รากทเ่ี กดิ ตามใบหรอื ตามล�ำตน้ ท�ำหนา้ ทต่ี า่ ง ๆ กนั
นอกจากนย้ี ังมรี ากที่ดดั แปลงไป (modified root) คอื
- รากค้�ำจนุ (prop root) เปน็ รากทแ่ี ตกจากข้อของล�ำต้นท่อี ยู่เหนือพน้ื ดนิ แล้วพุ่งลงสู่ดนิ เพอื่ ค้ำ�
ยันล�ำต้น เช่น โกงกาง เตย ไทรย้อย
- รากสังเคราะห์แสง (photosynthetic root) เปน็ รากท่แี ตกจากล�ำต้นหรอื ก่งิ ห้อยอยู่ในอากาศ
ส่วนปลายสเี ขยี ว สงั เคราะห์แสงได้ เช่น กล้วยไม้

คู่มือจำ�แนกพรรณไม้

34 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช

35
- รากหายใจ (pneumatophore) เป็นรากท่แี ทงตงั้ ฉากขึ้นมาจากผิวดนิ เพ่ือท�ำหน้าท่หี ายใจ เช่น
ล�ำพู ล�ำแพน ประสกั
- รากเกาะ (climbing root) เปน็ รากที่แตกออกมาจากข้อของล�ำต้น เกาะหลกั เสา หรอื ไม้อืน่ เช่น
พลู พริกไทย
- รากสะสมอาหาร (shorage root) เป็นรากท่มี ีลักษณะอวบ อุ้มนำ้� เช่น กระชาย แครอท

ตา (bud)

ตา ของต้นพชื แบ่งตามต�ำแหน่งทเ่ี กดิ ได้ ดงั น้ี
-ตายอด (terminal bud) เป็นตาทป่ี ลายสุดของล�ำต้นหรอื ก่งิ
-ตาข้าง (lateral bud หรอื axillary bud) เป็นตาทอ่ี ยู่ด้านข้างของล�ำต้น หรอื อยู่บรเิ วณง่ามใบ
นอกจากนต้ี ายงั แบ่งการพฒั นาไปเปน็ ส่วนต่าง ๆ ของพชื ได้ คอื
- ตาใบ (leaf bud) เป็นตาทเ่ี จริญไปเป็นใบ
- ตาดอก (flower bud) เป็นตาท่เี จริญไปเปน็ ดอก
- ตารวม (mixed bud) เป็นตาทม่ี ีเนื้อเยอ่ื ที่จะเจรญิ ไปเปน็ ทง้ั ใบและดอก

ใบ (leaves)

ใบ ประกอบด้วย
- แผ่นใบ (blade หรอื lamina)
- ก้านใบ (petiole หรอื leaf stalk) และ
- หูใบ

แผ่นใบ (leaf blade หรอื lamina) ลักษณะเปน็ แผ่น มขี นาด รปู ร่าง และเน้ือใบแตกต่างกันไป

แผ่นใบประกอบด้วย
1. เส้นกลางใบ (midrib)
2. เส้นใบ (vein)
3. ปลายใบ (apex)
4. โคนใบ (base)
5. ขอบใบ (margin)

คู่มือจ�ำ แนกพรรณไม้

36 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช

37

ก้านใบ (petiole) ตดิ กบั แผ่นใบตรงโคนใบ ยกเว้นบางชนิด ก้านใบตดิ ลึกเข้ามาจากโคนใบ เช่น ใบ

บวั เรียกว่า peltate ใบที่มีก้านใบเรียกว่า petiolate ใบไม่มกี ้านใบ เรียกว่า sessile พืชใบเลยี้ งเดี่ยวบางชนดิ ตอนโคน
ของก้านใบหรอื ก้านใบทั้งหมดแผ่เปน็ กาบหุ้มล�ำต้น เรยี กว่า กาบใบ (leaf sheath)

หูใบ (stipules) เป็นรยางค์หนึง่ คู่ อยู่ท่โี คนก้านใบ ใบอาจจะมีหใู บ เรยี กว่า stipulate หรือไม่มหี ูใบ

เรียกว่า exstipulate พชื บางชนิดหใู บอาจดัดแปลงไปเป็นหนามซง่ึ เรยี กว่า stipular spines

ชนิดของใบ

ใบ แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื
1. ใบเด่ียว (simple leaf) คอื ใบทม่ี ีแผ่นใบเดยี วและมีก้านใบเดยี ว
2. ใบประกอบ (compound leaves) คอื ใบทปี่ ระกอบด้วยแผ่นใบมากกว่า 1 เรียกใบเหล่านวี้ ่า ใบย่อย
(leaflets) ใบประกอบมหี ลายแบบ คอื
2.1 ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaves) เปน็ ใบประกอบทีม่ ใี บย่อยออก 2 ข้าง
ของแกนกลาง (rachis) ซ่ึงเปน็ ส่วนท่ตี ่อจากก้านใบ ใบประกอบแบบขนนกน้ี มีทงั้ ที่เปน็ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่
(odd-pinnate หรอื imparipinnate) เช่น ใบประกอบของต้นประดู่ คูน และใบประกอบแบบขนนกปลายคู่
(even-pinnate หรอื paripinnate) เช่น ใบประกอบของต้นลน้ิ จ่ี เงาะ
ใบประกอบแบบขนนก แบ่งออกเป็น
2.1.1 ใบประกอบแบบขนนก 2 ชน้ั (bi-pinnately compound leaves) เปน็ ใบประกอบ
แบบขนนกทแ่ี กนกลางแตกแขนงออกเป็นแกนกลางทส่ี องแล้วจงึ จะมใี บย่อยแบบขนนก
2.1.2 ใบประกอบแบบขนนก 3 ชนั้ (tri-pinnately compound leaves) เป็นใบประกอบที่
แกนกลางที่ 2 แตกออกเปน็ แกนกลางท่ี 3 จงึ จะมีใบย่อยแบบขนนก เช่น ปีบ มะรุม
2.2 ใบประกอบแบบนว้ิ มอื (palmately compound leaves) เป็นใบประกอบท่กี ้านใบย่อยทุกใบ
ออกจากต�ำแหน่งเดยี วกนั ตรงปลายก้านใบ

เส้นใบ (vein)

การเรยี งตวั ของเส้นใบ (leaf venation) บนแผ่นใบมี 3 แบบ คือ
1. เส้นใบขนาน (parallel vein) ส่วนมากพบในพชื ใบเล้ยี งเดี่ยว มี 2 แบบ
- เส้นใบขนานตามความยาวของใบ (longitudinal parallel vein) คอื เส้นใบทเ่ี รียงขนานกนั ตง้ั แต่
ฐานใบถึงปลายใบ เช่น ใบหญ้า อ้อย ข้าวโพด เปน็ ต้น
- เส้นใบเรยี งขนานกนั แบบขนนก (pinnately parallel vein) คอื เส้นใบท่เี รียงขนานกนั จากเส้น
กลางใบไปสู่ขอบใบ เช่น ใบกล้วย ขงิ ข่า พทุ ธรกั ษา เป็นต้น

คู่มือจำ�แนกพรรณไม้

38 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช

2. เส้นใบร่างแห (netted หรอื reticulated vein) มี 2 แบบ 39

- เส้นใบร่างแหแบบขนนก (pinnately netted vein) คือ เส้นใบทแ่ี ยกจากเส้นกลางใบทงั้ 2 ข้าง
เช่น ใบมะม่วง ขนนุ ชบา เปน็ ต้น

- เส้นใบร่างแหแบบน้วิ มือ (palmately netted vein) คอื เส้นใบที่ออกจากจุดเดยี วกนั ทีโ่ คนใบไป
ถึงปลายใบ เช่น มะละกอ อบเชย ฟกั ทอง เปน็ ต้น

รูปร่างใบ (leaf shape)

ใบ มรี ูปร่างต่าง ๆ กันดงั น้ี คือ

รปู ล่มิ แคบ (subulate) ใบค่อนข้างสนั้ สอบแคบจากโคนใบไปยังปลายใบ

รูปเขม็ (acicular) ใบเลก็ แหลมคล้ายเข็ม

รูปแถบ (linear) ใบยาวและแคบ ขอบใบเกอื บจะขนานกัน

รปู ขอบขนาน (oblong) ใบมขี อบสองขา้ งขนานกนั ความยาวเปน็ 2 เทา่ ของความกวา้ ง

รูปใบหอก (lanceolate) ใบรูปคล้ายใบหอก โคนใบกว้างค่อย ๆ แคบสู่ปลายใบ ความยาว : ความ
กว้าง = 3 : 1

รูปใบหอกกลับ (oblanceolate) ใบมรี ปู ร่างคล้ายใบหอกกลบั

รปู รี (elliptic) ใบมีรปู ร่างรี ส่วนกว้างทส่ี ุดอยู่ตรงกลางใบ เม่อื แบ่งใบออกเปน็ 2 ส่วน จะได้ 2 ข้าง
เท่า ๆ กัน

รปู ไข่ (ovate) ใบมรี ูปร่างคล้ายไข่ ส่วนกว้างท่สี ุดอยู่ต่�ำกว่าก่งึ กลางใบ ความยาว : ความกว้าง =
3:2

รปู ไข่กลบั (obovate) ใบมรี ปู ร่างคล้ายไข่กลบั

รูปสามเหลี่ยม (deltoid) ใบมรี ูปร่างคล้ายสามเหล่ียม

รูปสี่เหลีย่ มข้าวหลามตดั (rhomboid) ใบมรี ปู ร่างคล้ายสเ่ี หล่ยี มข้าวหลามตดั

รูปไต (reniform) ใบมรี ูปร่างคล้ายไต

รปู วงกลม (orbicular) ใบมรี ูปร่างคล้ายวงกลม

รูปหวั ใจ (cordate) ใบมรี ูปร่างคล้ายหัวใจ

รูปเคยี ว (falcate) ใบมรี ูปร่างคล้ายเคียวเกย่ี วข้าว

รปู ช้อน (spathulate) ใบมรี ปู ร่างคล้ายช้อน

คู่มือจำ�แนกพรรณไม้

40 กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พืช

ปลายใบ (leaf apex) 41

ปลายยาวคล้ายหาง (caudate) ปลายใบค่อย ๆสอบเข้าหากนั แล้วเรยี วแหลมยน่ื ออกไปคล้ายหาง

ปลายติ่งแหลม (cuspidate) ปลายใบแหลมเปน็ ตง่ิ แข็ง

ปลายตงิ่ หนาม (mucronate) คลา้ ย cuspidate แตม่ ตี ง่ิ สน้ั ตอ่ เนอื่ งจากเสน้ กลางใบแข็ง

ปลายแหลม (acute) ขอบใบทง้ั สองด้านสอบเข้าชนกันท่ปี ลาย

ปลายเรยี วแหลม (acuminate) ปลายแหลมแต่ตรงปลายใบคอดเว้าเข้าเลก็ น้อย

ปลายมน (obtuse) ปลายใบมน

ปลายตดั (truncate) ปลายใบตัด

ปลายเว้าบุ๋ม (retuse) ปลายเว้าเปน็ แอ่งตน้ื ๆตรงกลาง

ปลายเว้าตนื้ (emarginate) ปลายเว้าหยกั ลกึ

โคนใบ (leaf base)

โคนรูปลม่ิ (cuneate) โคนใบเรยี วสอบมาตรง ๆ แล้วจรดกันคล้ายรูปลม่ิ

โคนสอบเรยี ว (attenuate) โคนใบค่อย ๆ เรยี วสอบลงมาคล้ายก้านใบมคี รบี

โคนเฉยี ง หรอื เบ้ียว (oblique) โคนใบไม่เท่ากัน หรอื โคนใบเบ้ยี ว

โคนมน (obtuse) โคนใบมน

โคนตัด (truncate) โคนใบตัด

โคนรปู หวั ใจ (cordate) โคนใบรูปหัวใจ

โคนรูปเง่ยี งลกู ศร (sagittate) โคนใบรูปลกู ศร

โคนรปู เง่ยี งใบหอก (hastate) คล้าย sagittate แต่ส่วนโคนจะผายออก

ขอบใบ (leaf margin)

ขอบใบเรยี บ (entire)

ขอบใบเปน็ คลน่ื (undulate)

ขอบใบหยกั หรอื มน (crenate)

ขอบใบจกั ซ่ฟี นั (dentate)

ขอบใบจักฟันเล่อื ย (serrate)

ขอบใบจกั เปน็ พู (lobed) คู่มือจำ�แนกพรรณไม้


Click to View FlipBook Version